สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ***มาร่วมเป็นสักขีพยานปราบมาร ๕ คือไอ้คึกฤทธิ์และบริวารสาวกมาร ๕ ในรอบกึ่งพุทธกาล ด้วยกันครับ***
    เห็นมาหลายตัวเก่งๆนับจากไอ้คึกฤทธิ์และจากพวกบริวารสาวกมาร๕แห่งสำนักวัดนาป่าพง อวดตนว่ารู้"ธรรมอันแท้จริง" ผู้อื่นที่ไม่เข้าสำนักไม่ร่วมสำนักด้วย
    ไม่ไปศิโรราบ ไม่มีทางรู้ธรรมอันแท้จริง จาก "พุทธวจนะ"
    เคยหลายครั้งที่ ฝากไปถามไปเตือนสติ ถามแล้วถามอีกก็ไม่เคยได้คำตอบ ของคำว่า"ปฎิสัมภิทา" หรือ นิรุตติญานทัสสนะกถาและวิมุตติญานทัสสนะกถา ว่ามีว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร? จึงมาเป็นพระไตรปิฏกอย่างที่ได้เห็นได้อ่านในปัจจุบัน นี่เป็นเหตุผลแรก ที่ไอ้คึกฤทธิ์และบริวารลิ่วล้อสาวกมาร ๕ แห่งสำนักวัดนาป่าพงต้องแพ้พ่าย เพราะไม่รู้จักที่มาของการกำเนิดองค์พระไตรปิฏก เมื่อปฎิเสธตั้งแต่แรก ว่า ไม่มีไม่ใช่ และตัดทอน "ปฎิสัมภิทาญานกถา" (พระธรรมที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงและอรรถกถาสาธยายธรรมทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นพุทธดำรัสตรัสสอนโดยตรง หรือพระอรหันตสาวกแสดงอรรถถาธิบาย
    สาธยายธรรมที่มีมาในพระไตรปิฏกทุกเล่มในสายเถรวาทีนี้โดยเฉพาะฉบับของโลกมนุษย์) อันเป็นที่มาที่สุดแห่งธรรมออกจากพระไตรปิฏก นับแต่บัดนั้นมา พวกสำนักวัดนาป่าพงก็หมดคุณสมบัติที่จะ ปุจฉา-วิสัชนา หรือ กถาหรือพระสูตรใดๆโดยก็ตาม ในทันทีนับแต่นั้นมา
    ฉนั้นบุคคลใดๆที่กระทำการใดๆที่เป็นการส่งเสริมไอ้คึกทำลายพระสัทธรรมอยู่ จงเตรียมตัวพินาศวินาศสันตะโรไปตามการเถิดฯ

    "อยากจะรู้นัก ถ้าไม่มีปฎิสัมภิทาและวิมุตติญานทัสสนะกถาที่แสดงไว้ ไอ้คึกฤทธิ์และบริวารสาวกมาร ๕ จะมีสติปัญญาเอาอะไรที่ไหน? มาทำขายแดก"

    จะให้รู้ว่าจริงหรือไม่จริง ผู้ที่คิดว่าเท็จต้องไปหาหลักฐาน
    ความเป็นจริงมาล้มล้างหรือหักล้าง ความเป็นเท็จให้ได้ และถ้าทำไม่ได้ แต่กล่าวแต่ว่า นี่เท็จ นี่เท็จ ทั้งๆที่ตนเองก็ไม่รู้ว่าธรรมที่แท้จริงคืออะไร? พวกนี้คือพวกที่ทรงตรัสว่า" เป็นพวกแส่หาตัณหา เป็นพวกโอ้อวด ไม่สามารถถือทิฏฐิได้ แม้แต่มิจฉาทิฏฐิ ก็ไม่มีปัญญาจะถือ พวกตกทิฏฐิ62 ยังสามารถถือเป็นผู้ทิฏฐิได้ แต่พวกที่ถือไม่ได้นี่ ยิ่งกว่า คำว่า " น่าเวทนา " น่ารังเกียจอีกนะครับ พิจารณาให้ดีๆ มิจฉาทิฏฐิมีโทษเป็นที่สุด แต่ถือบุคคลกลุ่มหรือพวก ที่ไม่สามารถจะถือทิฏฐิได้นี่ยิ่งกว่า "ผีบ้า" ระมัดระวังกันให้ดีครับข้อนี้ อย่าพลาดเชียว ด้วยเหตุนี้ สำหรับพวกไอ้คึกฤทธิ์และเหล่าบริวาร
    สาวกมาร๕แห่งสำนักวัดนาป่าพง "ไม่สามารถเป็นผู้ถือทิฏฐิ"ได้ครับ

    อาศัย"พระสัทธรรม"สร้างสัทธรรมปฎิรูปเพื่อทำลาย"พระสัทธรรม"

    นี่แหละที่มาของประโยค" อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ" ที่ปราชญ์และเหล่าบัณฑิตผู้เจริญในธรรมเขารู้และเห็น ไม่ว่าพวกมึง จะหอบพระสูตรมาพูดมากล่าวแสดงอยู่กี่หมื่นแสนครั้ง ผู้มีความเจริญในพระสัทธรรมมีบุญบารมีส่งเสริมมาดี จะไม่มีทางหลงผิดไปกับพวกมึงอย่างเด็ดขาดไอ้คึกฤทธิ์ ลงตัว กับพวกชั่วช้าสารเลวอย่างเหมาะสมที่สุด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ขอให้ท่านทั้งหลาย จงศึกษาความหมายของ "นิรุตติญานทัสสนะ และ วิมุตติญานทัสสนะ ให้ถี่ถ้วน แล้วท่านก็จะรู้ว่า เรากำลังเผชิญกับข้าศึกก็คือ ไอ้คึก มาร ๕ กงจักรแปลงเป็นดอกบัวมาจุติและเหล่าสาวกมารของมัน ว่ามันต้องการทำอะไร? ที่เกี่ยวพันกับ อันตรธาน ๕ ในการสร้างสัทธรรมปฎิรูป ในห้วงกึ่งพุทธกาล อย่างไม่เคยปรากฎมาก่อนในรอบ ๒๕๕๙ ปี ตามจำนวนนับพุทธศักราช


    กล่าวตามตรงก็คือ มันต้องการทำลาย นิรุตติญานทัสสนะ และ วิมุตติญานทัสสนะ โดยพระอรหันต์ผู้อเสกขภูมิได้แสดงไว้โดยการสังคายนานอบน้อมนำมาแสดง โดยที่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ ณ ที่ต่างในโอกาสต่างๆก็ดี และน้อมนำตรวจทานโดยพระไตรปิฏกพระธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บท "ทิพยวิเศษบริสุทธิธรรม" ซึ่ง ไม่ว่าจะเป็นภาษา บาลี สุทธมาคธี สิงหล ปรากฤษ ปัลลวะ นาครี สันสกฤษ ไทย ขอม ไทยทราวดี ไทยอโยธยา หรือ ทมิฬ ในภาษาอื่นๆฯลฯ ที่มีบันทึกในโลกหรือในมฤตยูนอกโลกธาตุในทวีปอื่นก็ตาม ก็ไม่สามารถที่จะ ทำการตรวจทานกลับกันได้ กับแม่แบบ นอกเสียจากแม่แบบ จะแปลให้ เรื่องนี้ว่าด้วย "ปฎิสัมภิทา" จึงเป็นข้อผิดพลาดที่ชัดเจน ของ ไอ้ คึกฤทธิ์ เพราะมันไม่รู้จัก ปฎิสัมภิทา ว่าคืออะไร? ทั้งๆที่มันก็ นำพระธรรมในพระไตรปิฏกที่สำเร็จมาโดยปฎิสัมภิทา มาสร้างสัทธรรมปฏิรูปมาทำลายพระสัทธรรมอย่างที่เห็น เพื่อให้คนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะในประเทศไทย ได้รับผลกรรมจากที่ไปหลงเชื่อมันโดยตรง พลาดจากมรรคผลและไปเกิดเป็นเหล่าบริวารของฝ่ายมาร ตาม"มหากัณหชาดก" เป็นต้น จึงเสื่อมลงเรื่อยๆในอันตรธาน ๕ อย่างที่เห็นในปัจจุบัน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    [ame]

    จากทำนองเดิมเป็นสังคีตอันเป็นทิพย์ แม้จะนำความไพเราะของเครื่องดนตรีทุกชนิดในโลก มารวมกันเป็นเสียงเดียวก็มิอาจ เท่าเทียมเสียงสังคีตอันเป็นทิพย์ได้

    อัญเชิญพระปริตร วันอาสาฬหบูชา ตรงกับ วันเพ็ญ เดือน ๘ ปี ๒๕๕๔

    โดยอดีตพระนวกะดีเด่น ในโครงการบวชพระ ๗๐ รูป เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ราชการที่ ๙ ฝ่าย ภาคทหารภาคใต้


    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ
    “การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง”

    ตำนาน อภยปริตร
    ครั้งหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศล ทรงพระสุบินนิมิต ถึงอาเพศ ๑๖ อย่าง แล้วให้เกิดความหวาดหวั่น ต่อมรณภัยที่มองไม่เห็น จึงทรงเล่าพระสุบินนั้น ให้พราหมณ์ปุโรหิตรับฟัง พราหมณ์ปุโรหิตพยากรณ์ว่าจะบังเกิดเหตุการณ์ให้พระองค์มีอันตรายอย่างหนึ่งอย่างใด รวมทั้งราชสมบัติด้วย

    ปุโรหิตนั้น ได้ทูลแนะวิธีป้องกันอันตราย ด้วยบัญญัติวิธี คือ เอาสัตว์อย่างละ ๔ ๆ มาฆ่าบูชายัญพระเจ้าปเสนทิโกศล จึงทรงมีรับสั่งให้จัดเตรียม ประจำพิธีและสิ่งของ ตามถ้อยคำของปุโรหิตบอก ครานั้น พระนางมัลลิกาเทวี พระมเหสีของพระเจ้าปเสนทิโกศล จึงทูลขึ้นว่า เสด็จพี่อย่าพึ่งทำยัญพิธีกรรมใด ๆ เลย ขอได้โปรดเสด็จไปทูลถาม ถึงพระสุบินนิมิตนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าก่อน พระองค์ทรงเป็นสัพพัญญู มิมีสิ่งใดที่พระพุทธองค์ไม่รู้ ราชาโกศล จึงเสด็จพร้อมมเหสีและบริวาร ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ณ เชตวันมหาวิหาร แจ้งทูลถามถึงสุบินนิมิตทั้ง ๑๖ ข้อนั้น

    พระผู้มีพระภาคทรงตรัสว่า ดูก่อนมหาบพิตร ภัยอันตรายใด ๆจะพึงบัง เกิดมีแก่พระองค์ จากเหตุแห่งพระสุบินนิมิตนั้น หามีไม่ สุบินนิมิตของพระองค์ เป็นสิ่งบอกเหตุที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หวังจากเราตถาคตนิพพานไปแล้ว และในที่สุดพระผู้มีพระภาค จึงทรงขอให้พระเจ้าปเสนทิโกศล ล้มเลิกยัญพิธีทั้งปวงเสีย

    บัดนี้ถึงกาลอันควรแล้ว ขอเชิญพระสาวกแก้ว ได้โปรดสาธยาย อะภะยะปริตร เพื่อพิชิตอวมงคลทั้งหลายที่บังเกิดขึ้น ให้พินาศไป ด้วยเทอญฯ

    {O}อภยปริตร{O}

    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ

    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ

    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ


    [o]คำแปล[o]
    ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์ร้ายและฝันร้ายที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยพุทธานุภาพ ขอความเลวร้าย ทั้งปวงนั้นจงพินาศไปสิ้น
    ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์ร้ายและฝันร้ายที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยธรรมมานุภาพ ขอความเลวร้ายทั้งปวงนั้นจงพินาศไปสิ้น
    ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์ร้ายและฝันร้ายที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยสังฆานุภาพ ขอความเลวร้าย ทั้งปวงนั้นจงพินาศไปสิ้นฯ

    ท่านสาธุชนทั้งหลายฯ บุคลใดปรารถนาจะฟังพระบทสวดนี้ ด้วยท่วงทำนองอันแท้จริง ตามทำนองที่ เราได้จักสวดสาธยายไว้ ให้ท่านได้รับฟัง ๑ จบในไฟล์วีดีโอนี้เป็นธรรมทาน และเราขอฝากเตือนแก่ท่านทั้งหลายว่า" บทสวดนี้ ไม่ใช่การรจนา แต่งขึ้นใหม่ตามที่ ผู้ไม่มีปฎิสัมภิทาญาน เฉลยบอกข้อมูลนั้นไว้

    อภยปริตนี้เป็นพระสูตรเก่าดั้งเดิม ในพระไตรปิฎกพระธรรมคัมภีร์ดั้งเดิม ผู้มีปฎิสัมภิทาญานเท่านั้นจักพึงเห็นพึ่งฟัง นอบน้อมนำมาเป็นธรรมทานได้ผู้มีบุญ มีดวงตาเห็นธรรม ใคร่ครวญพิจารณาดีแล้ว ใคร่ปรารถนาจะฟังเพื่อจดจำไปสวดต่อ เรายินดีในกาลนั้นว่าที่พระ"ธรรมบุตร"

    อวชฺเช วชฺชมติโน
    วชฺเช อวชฺชทสฺสิโน
    มิจฺฉาทิฏฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ ทุคฺคตึฯ
    วชฺชญฺจ วชฺชโต ญตฺวา
    อวชฺชญฺจ อวชฺชโต
    สมฺมาทิฏฺฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ ฯ


    สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีความรู้ว่ามีโทษในธรรมที่หาโทษมิได้
    มีปกติเห็นว่าหาโทษมิได้ในธรรมที่มีโทษ
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ย่อมไปสู่ทุคติ


    สัตว์ทั้งหลาย รู้ธรรมที่มีโทษโดยความเป็นธรรมมีโทษ
    รู้ธรรมที่หาโทษมิได้ โดยความเป็นธรรมหาโทษมิได้
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งสัมมาทิฏฐิ
    ย่อมไปสู่สุคติ.


    {O} จงข่มผู้ที่ควรข่ม เพ่งโทษในธรรมที่มีโทษ โดยปราศจาก อคติ ๔ และ อุปกิเลส ๑๖ ถ้าตนนั้น บริสุทธิคุณและมีปัญญาญานสามารถเพียงพอ พอยกเหล่าเพื่อพรหมจรรย์ ออกจากอสัทธรรม {O}

    อปฺปฏิวตฺติยํ
    ขอจงจดจำเราไว้ว่า " เรามีหน้าที่ ปกป้อง อภยปริตร และ มหาสุบินชาดก ในห้วงกึ่งพุทธกาลจากการทำลายของ อสัตบุรุษอลัชชี โมฆะบุรุษคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ผู้เป็นชนพาลผู้สร้าง สัทธรรมปฎิรูป หมุนทวนกระแสพระธรรมจักร และ เหล่าบริวารลิ่วล้อสาวกมาร ๕ แห่งสำนักวัดนาป่าพง "

    ขอจงสรรเสริญแด่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นั้นเทอญฯ

    สาธุธรรม ขออนุโมทนาบุญฯ

    สวัสดี
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2019
  4. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    จาก อาจารย์ทองย้อย ตำหนิผู้กล่าวหา ภาษาบาลี ว่าไม่ใช่ภาษา ฯลฯ
    เห็นด้วยกับท่านครับ

    "องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศธรรม ด้วยความบริสุทธิ์ อรรถพยัญชนะที่บริสุทธิ์ ด้วยวาจาที่บริสุทธิ์ ด้วยพระราชหฤทัยที่บริสุทธิ์"

    ถ้าเขาพูดตามสภาวะธรรมโดยรู้จักการถ่ายทอดพระสัทธรรมที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายฯทรงตรัสรู้เห็นซึ่งเป็นแบบแผนเดียวกันโดย ปฎิสัมภิทาญาน เขาที่กล่าวมาในที่นี้ถือทิฏฐินั้นได้ครับ

    แต่ถ้าไม่รู้จักแต่ไปคิดเอาเองโดยการปรามาสองค์พระสัทธรรมและมหาปกรณ์และปกรณ์พยัญชนะทั้งหลายฯ เขาก็หมดสิทธิ์ที่จะเจริญในพระสัทธรรมอย่างแน่นอน
    เป็นพวกต่างศาสนาที่คิดทำลาย อรรถพยัญชนะและไวยากรณ์ของพระพุทธศาสนาหรือเปล่าครับ

    ที่นี้มาอ่านและพิจารณา อรรถที่นักวิชาการไม่สามารถรู้เห็นและอธิบายได้กันครับ
    ทรงตรัสแล้วนะครับว่า อรรถพยัญชนะอรรถวาจาไวยากรณ์ในพระพุทธศาสนาไม่ใช่ฐานะที่เหล่าโมฆะบุรุษในพระพุทธศาสนาผู้สร้างสัทธรรมปฎิรูปลัทธิศาสนาเหล่าอื่นใดก็ตาม ไม่ใช่ฐานะที่จะวิสัชนาไวยากรณ์ทั้งหลายเหล่านี้ได้

    "ผมขอนำกล่าวถึงโมฆะบุรุษด้วยครับ ยกเว้นนอกเหนือจากนั้นสามารถหวังได้"

    ****พิจารณา หากยังไม่สามารถทำให้เกิดไม่เข้าใจในคุณอันลึกของ "พระสัทธรรม อันมี "สัจจะธรรมมหาปกรณ์"ข้าพเจ้าขออภัยไว้ตรงนี้ครับ****
    มี "พระมหาปกรณ์" อยู่ครับ แต่ ต้องพิจารณาขอบเขต ๒๕๐+ ๓๐๐=๙๐๐ โยชน์ มัชฌิมประเทศที่พระโพธิสัตว์ทั้งหลายมาจุติ และภาษาอื่นที่ทรงเสด็จไปทรงโปรดด้วย จึงจำเป็นต้องถ่ายทอดลงมาเป็นสุทธมาคธี-มาคธี พระมหาปกรณ์นั้น ถ้าเห็นสภาพการเปลี่ยนแปลงก็จะเข้าใจครับ และในกาลอื่นๆที่ทรงเสด็จไปโปรด ภาษาที่รักษาไว้ซึ่งพระพุทธวจนะก็ทรงถ่ายทอดลงมาเป็นภาษาอื่นๆเมื่อทรงเสด็จไปโปรดสัตว์ในโลกธาตุอื่นๆที่มีภาษาอื่นอีกด้วยครับ ถ้าเขากล่าวว่า" ไม่ใช่ภาษา" แล้วเขาไม่รู้จัก "ปฎิสัมภิทา มัคโค" วิศิษฐปาฐะ หรือการเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะปฎิรูป คือการเปลี่ยนแปลงของภาษาธรรม ที่แม้แต่จะถามด้วยใจก็สามารถตอบด้วยวาจา หรือตอบด้วยใจโดย**อาเทสนาปาฎิหาริย์** ถามด้วยความคิดความรู้สึกเช่นนั้น ตอบด้วยความคิดรู้สึกเช่นนั้นจักเป็นภาษาใด

    "ทะลุทะลวงเจตสิกธรรมารมณ์กันเลยทีเดียว"

    ขอให้สหายบัณฑิตผู้เจริญของข้าพเจ้าพิจารณาดูให้ดีนะครับ สิ่งที่ผมกล่าวเป็นทั้ง ปริยัติ ปฎิบัติและปฎิเวธ ของ ผู้เสกขภูมิอยู่ ฉนั้นเมื่อเขาไม่รู้จักการเปลี่ยนแปลงนี้ ไม่รู้จักปฎิสัมภิทาญาน หากเขาใช้คำพูดแบบนั้น เขากล่าวไม่ถูกต้องครับ
    และถ้าเขารู้จัก พระมหาปกรณ์อันละเอียด ที่มีอัตลักษณ์ ที่ไม่หยั่งลงสู่ความตรึกนี้ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นภาษาที่เราท่านสามารถเข้าใจทั้ง รูป พยัญชนะ สำเนียง ของอรรถ ในทันที ที่แม้จะไม่เคยได้รู้ได้เรียนมาก่อนเลย โดยในนามปฎิสัมภิทา เขาถือทิฏฐินั้นได้
    ฉนั้นการที่จะเอา ภาษาบาลีหรือพยัญชนะเหล่าใดก็ตาม มาตรวจสอบกับแท่นพิมพ์ ถ้าแท่นพิมพ์หรือแม่แบบ นั้นแปลงสภาพให้ เป็น อักษรนั้นๆ ก็เห็นควรอยู่ ที่จะเป็นหรือเรียกว่า บาลี แต่ถ้าแม่แบบไม่เปลี่ยนให้ หรือเปลี่ยนเป็นภาษาอื่นๆ ท่านก็จะคิดจะรู้ทันทีว่า เห็นทีจะไม่ใช่ ภาษานี้โดยตรง เพราะฉนั้นการที่จะเอา ภาษาใดๆก็ตามมาตรวจสอบกับแท่นพิมพ์ว่า เป็นภาษาที่ตรงกันหรือไม่ ไม่ใช่ฐานะที่จะกระทำได้หรือระบุได้ตายตัว ผมจึงใช้คำว่า "ไม่ใช่ พระพุทธวจนะตรงๆจากพระพุทธเจ้า หรือ พระสัทธรรม" แต่***เป็นภาษาที่ทรงโปรดนำมาแสดงไว้*** ตามความเหมาะสมของเชื้อชาติประเทศราชและท้องถิ่นนั้นๆครับ

    ก็เพื่อจะให้ชนส่วนใหญ่ได้ล่วงรู้โดยง่าย ถ้านำลงมาแสดงไว้ด้วยภาษาอื่นๆก็จะต้องตีความแล้วตีความเล่า เพราะยิ่งด้วยผู้มีปฎิสัมภิทาแล้ว เห็นประโยคเดียว ออกเป็นร้อยนัยพันนัยเลยที่เดียวตามกระแส*สกานิรุตติ* และเพ่งจิตด้วยวิมุตติญานทัสสนะตามธรรมที่เสวยวิมุตติสุขนั้นๆ ภาษาใจ ภาษาธรรมชาติ ที่เป็น "สัจจธรรมมหาปกรณ์"
    ผมไม่สามารถจะทำให้ท่านได้รู้เห็นได้ ท่านต้องเห็นเอง ขอให้เจริญในปฎิสัมภิทาเถิดครับ ด้วยสติปัญญาของบัณฑิต ผู้สั่งสมสุตตะอย่างท่านทั้งหลาย โดยเฉพาะท่านที่ได้อ่านในตอนนี้เมื่อใดที่ท่านได้เข้าสู่ทิพย์ภูมิของพระอริยะ ในปฎิสัมภิทา ท่านจะทราบเลยว่า ขนาดที่มีธรรมละเอียดที่จะทรงสามารถแสดงได้ขนาดนี้เพื่อให้สัตว์โลกได้เข้าใจถึงสภาวะธรรม แต่กมลสันดานของสัตว์โลกที่ไม่ได้สั่งสมสุตตะมาก่อนไม่เหมาะที่จะตรัสรู้และเข้าใจธรรมอันประเสริฐนี้ จนพระพุทธเจ้าทั้งหลายฯทรงท้อพระทัยที่จะทรงตรัสสอน จึงเป็นเหตุให้ไม่ทรงแสดงธรรมจึงเป็นเหตุให้พระศาสนาอันตรธานไปอย่างรวดเร็วในพุทธสมัยที่ผ่านมา จึงแสดงเพื่อเป็นพลวปัจจัยเป็นอันมาก จึงทรงกล่าวแม้บทเดียวหากเขาได้เข้าใจก็เป็นสุขแก่สัมปราภพของสัตว์นั้นอย่างยาวนานจวบจนพระนิพพาน และโดยเฉพาะฐานะที่ท่านทำอยู่ในการปกป้องรักษาพระไตรปิฏกด้วยความบริสุทธิ์ใจเหล่าใดก็ตามในกาลนี้ก็ตามกาลอดีตที่แล้วมาจนถึงกาลอนาคตก็ตาม พวกท่านทั้งหลายเหล่านั้นฯ ย่อมได้บรรลุสู่ ปฎิสัมภิทาญาน อย่างแน่นอนครับ พระอรหันต์๔หมวด มีคุณความสามารถที่แตกต่างกันตามบทบาทและหน้าที่ วันนั้นเมื่อท่านได้เห็น พระมหาปกรณ์ จาก พระสัทธรรม พระธรรมราชา แล้ว ท่านจะเข้าใจ อรรถพยัญชนะที่ข้าพเจ้าแสดงไว้แล้วนี้ สาธุธรรมครับ


    "ปฎิสัมภิทา เสกขภูมิ"
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    มุตโตทัย ของ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ
    บันทึกโดยพระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร ( ปัจจุบันพระราชธรรมเจติยาจารย์ วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ ) ณ วัดป่าบ้านนามน กิ่ง อ. โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๘๖


    ๑. การปฏิบัติ เป็นเครื่องยังพระสัทธรรมให้บริสุทธิ์
    สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงว่าธรรมของพระตถาคต เมื่อเข้าไปประดิษฐานในสันดานของปุถุชนแล้ว ย่อมกลายเป็นของปลอม (สัทธรรมปฏิรูป) แต่ถ้าเข้าไปประดิษฐานในจิตสันดานของพระอริยเจ้าแล้วไซร้ ย่อมเป็นของบริสุทธิ์แท้จริง และเป็นของไม่ลบเลือนด้วย เพราะฉะนั้นเมื่อยังเพียรแต่เรียนพระปริยัติถ่ายเดียว จึงยังใช้การไม่ได้ดี ต่อเมื่อมาฝึกหัดปฏิบัติจิตใจกำจัดเหล่า กะปอมก่า คือ อุปกิเลส แล้วนั่นแหละ จึงจะยังประโยชน์ให้สำเร็จเต็มที่ และทำให้พระสัทธรรมบริสุทธิ์ ไม่วิปลาสคลาดเคลื่อนจากหลักเดิมด้วย


    ๒. การฝึกตนดีแล้วจึงฝึกผู้อื่น ชื่อว่าทำตามพระพุทธเจ้า
    ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควา
    สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงทรมานฝึกหัดพระองค์จนได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เป็น พุทฺโธ ผู้รู้ก่อนแล้วจึงเป็น ภควา ผู้ทรงจำแนกแจกธรรมสั่งสอนเวไนยสัตว์ สตฺถา จึงเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ฝึกบุรุษผู้มีอุปนิสัยบารมีควรแก่การทรมานในภายหลัง จึงทรงพระคุณปรากฏว่า กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต ชื่อเสียงเกียรติศัพท์อันดีงามของพระองค์ย่อมฟุ้งเฟื่องไปในจตุรทิศจนตราบเท่าทุกวันนี้ แม้พระอริยสงฆ์สาวกเจ้าทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้วก็เช่นเดียวกัน ปรากฏว่าท่านฝึกฝนทรมานตนได้ดีแล้ว จึงช่วยพระบรมศาสดาจำแนกแจกธรรม สั่งสอนประชุมชนในภายหลัง ท่านจึงมีเกียรติคุณปรากฏเช่นเดียวกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ถ้าบุคคลใดไม่ทรมานตนให้ดีก่อนแล้ว และทำการจำแนกแจกธรรมสั่งสอนไซร้ ก็จักเป็นผู้มีโทษ ปรากฏว่า ปาปโกสทฺโท คือเป็นผู้มีชื่อเสียงชั่วฟุ้งไปในจตุรทิศ เพราะโทษที่ไม่ทำตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอริยสงฆ์สาวกเจ้าในก่อนทั้งหลาย


    "เมื่อสูง ก็สูงส่ง จนไม่อาจจะอธิบายให้เข้าใจได้โดยง่าย"
    :z16
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 ตุลาคม 2016
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คึกฤทธิ์มาร ๕ และเหล่าบริวารลิ่วล้อแห่งสำนักวัดนาป่าพง ไม่มีสติปัญญามากพอที่จะล่วงรู้ว่า "เหตุใดพระองค์จึงไม่ทรงเนรมิตพระไตรปิฏกให้ไว้? หรือว่าพระองค์ไม่ทราบเหรอว่าเหล่าพุทธบริษัทต่อไปในภายภาคหน้า จะไม่มีพระไตรปิฏกที่ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์ ที่สูญหายเหมือนอย่างในปัจจุบัน
    หรือว่าพระมหาเถระไม่มีฤทธิ์มากพอที่จะเนรมิตพระไตรปิฏกให้ไว้?


    ก็เพราะอะไร? ก็เพราะว่านี่เป็น พุทธปฎิบัติ เป็น สาวกปฎิบัติ เป็นหน้าที่ เป็นความตั้งใจงดงามเป็นความอุตสาหะที่กระทำด้วยญานทัสสนะวิสุทธิ
    เป็นปัตจัตตัง


    และถ้าไปก๊อปปี้ ฉีกฉบับ มาหากินแบบคึกฤทธิ์โดยไม่มีคุณสมบัติ มันก็เป็นสัทธรรมปฎิรูป เป็นการดูหมิ่นพระสัทธรรม ที่ทรงสถิตอยู่ในธรรมวิสัย


    {O}ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้นและการดับแห่งธรรมเหล่านั้น{O}

    **อีกหนึ่งนัย ในเรื่องที่มันกล้าตัดคำพระสาวกแก้วทั้งหลายฯทิ้ง**

    เพราะมันไม่รู้จัก ปุจฉา-วิสัชนา การถาม-ตอบ-การแสดงธรรมอันมีเหตุของพระพุทธเจ้า

    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ว่า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราแสดงธรรม เพื่อ
    ความรู้ยิ่ง ไม่แสดงเพื่อความไม่รู้ยิ่ง เราแสดงธรรมเป็นไปกับด้วย
    เหตุ ไม่แสดงไร้เหตุ เราแสดงธรรมเป็นไปกับด้วยปาฏิหาริย์ ไม่
    แสดงไร้ปาฏิหาริย์ และโดยที่เราแสดงธรรมเพื่อความรู้ยิ่ง ไม่แสดง
    เพื่อความไม่รู้ยิ่ง แสดงธรรมมีเหตุ ไม่แสดงธรรมไร้เหตุ แสดง
    ธรรมมีปาฏิหาริย์ ไม่แสดงไร้ปาฏิหาริย์ โอวาทานุศาสนีของเรา
    จึงควรทำตาม ก็และพวกเธอควรที่จะยินดี ควรที่จะชื่นชม ควรที่
    จะโสมนัสว่า พระผู้มีพระภาคเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พระธรรม
    อันพระผู้มีพระภาคแสดงดีแล้ว พระสงฆ์ปฏิบัติดีแล้ว ก็แหละเมื่อ
    พระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณพจน์นี้อยู่ หมื่นโลกธาตุได้หวั่นไหว
    แล้ว ดังนี้



    ภิกษุ ท.! โลกธรรม มีอยู่ในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้ว ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.
    ภิกษุ ท.! ก็อะไรเล่า เป็นโลกธรรมในโลก?
    ภิกษุ ท.! รูป เป็นโลกธรรมในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งรูปอันเป็นโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้วย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.
    ภิกษุ ท.! บุคคลบางคน แม้เราตถาคตบอก แสดง บัญญัติ ตั้งขึ้นไว้เปิดเผย จำแนกแจกแจง ทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ อยู่อย่างนี้ เขาก็ยังไม่รู้ไม่เห็น. ภิกษุ ท.! กะบุคคลที่เป็นพาล เป็นปุถุชน คนมืด คนไม่มีจักษุคนไม่รู้ไม่เห็น เช่นนี้ เราจะกระทำอะไรกะเขาได้.
    ภิกษุ ท.! เปรียบเหมือน ดอกอุบล หรือดอกปทุม หรือดอกบัวบุณฑริกก็ดี เกิดแล้วเจริญแล้วในน้ำ พ้นจากน้ำแล้วดำรงอยู่ได้โดยไม่เปื้อนน้ำ, ฉันใด; ภิกษุ ท.! ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน เกิดแล้วเจริญแล้ว ในโลกครอบงำโลกแล้วอยู่อย่างไม่แปดเปื้อนด้วยโลก.
    ***พระพุทธเจ้าโลกธาตุไหนที่จะทรงแสดงธรรม ทรงบัญญัติ ทรงตั้งขึ้นไว้ ทรงเปิดเผย ทรงจำแนกแจกแจง ทรงทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำโดยไม่มีเหตุ***
    ถ้าไม่มีเหตุใดๆ แห่งการเกิดขึ้นซึ่งการปุจฉาวิสัชนา จะถึงเวลาที่จะทรงแสดงธรรม ทรงบัญญัติ ทรงตั้งขึ้นไว้ ทรงเปิดเผย ทรงจำแนกแจกแจง ทรงทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำโดยไม่มีเหตุได้อย่างไร?


    [พระสารีบุตรทูลขอให้ทรงบัญญัติสิกขาบท]
    ถามว่า ในคำว่า อถโข อายสฺมา สารีปุตฺโต มีอะไรเป็นอนุสนธิ.
    ตอบว่า คือ ท่านพระสารีบุตร ครั้นได้ฟังเหตุการณ์ดำรงอยู่นานแห่งพรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์อย่างนี้แล้ว ถึงความตกลงใจว่า การบัญญัติสิกขาบทเท่านั้น เป็นเหตุแห่งความดำรงอยู่ได้นาน เมื่อปรารถนาความดำรงอยู่นานแห่งพรหมจรรย์ แม้ของพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทูลวิงวอนขอการบัญญัติสิกขาบทกะพระผู้มีพระภาคเจ้า.
    พระอุบาลีเถระกล่าวคำว่า อถโข อายสฺมา สารีปุตฺโต อุฏฺฐายาสนา ฯเปฯ จิรฏฺฐิติกํ นี้เพื่อแสดงวิธีทูลวิงวอนขอการบัญญัติสิกขาบทนั้น.
    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อทฺธนิยํ คือ ควรแก่กาลนาน. มีคำอธิบายว่า มีกาลยาวนาน.
    คำที่เหลือมีอรรถตื้นทั้งนั้น.

    [พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสห้ามท่านพระสารีบุตร]
    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงประกาศแก่พระสารีบุตรนั้นว่า เวลานี้ ยังไม่เป็นกาลแห่งอันบัญญัติสิกขาบทก่อน จึงตรัสว่า อาคเมหิ ตฺวํ สารีปุตฺต ดังนี้เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น คำว่า อาคเมหิ ตฺวํ ความว่า เธอจงรอก่อน. มีคำอธิบายว่า เธอจงยับยั้งก่อน. ก็คำนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสซ้ำสองครั้ง ด้วยอำนาจความเอื้อเฟื้อ.
    ด้วยคำว่า อาคเมหิ เป็นต้นนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามความที่การบัญญัติสิกขาบทเป็นวิสัยของพระสาวก เมื่อจะทรงทำให้แจ้งว่า การบัญญัติสิกขาบทเป็นพุทธวิสัย จึงตรัสคำว่า ตถาคโตว เป็นต้น. ก็ในคำว่า ตถาคโตว นี้ คำว่า ตตฺถ เป็นสัตตมีวิภัตติ เพ่งถึงการอ้อนวอน ขอให้ทรงบัญญัติสิกขาบท.
    ในคำว่า ตถาคโตว นั้น มีโยชนาดังต่อไปนี้ :-
    ในคำที่เธอกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงบัญญัติสิกขาบทนั้น พระตถาคตเท่านั้นจักรู้กาลแห่งอันบัญญัติสิกขาบทนั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นตรัสอย่างนี้แล้ว เพื่อจะแสดงสมัยมิใช่กาลก่อน จึงตรัสคำมีอาทิว่า น ตาว สารีปุตฺต ดังนี้.
    ในคำว่า น ตาว สารีปุตฺต เป็นต้นนั้นมีวินิจฉัยว่า
    อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ในธรรมเหล่านี้ เพราะเหตุนั้น ธรรมเหล่านั้นจึงชื่อว่า เป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ,
    อีกอย่างหนึ่ง ธรรมทั้งหลายอันอาสวะพึงตั้งอยู่ คือไม่พึงผ่านเลยไป เพราะเหตุนั้น ธรรมเหล่านั้นจึงชื่อว่า เป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ.
    อธิบายว่า อาสวะคือทุกข์ และอาสวะคือกิเลส อันเป็นไปในทิฏฐธรรมและในสัมปรายภพ อาสวะมีการค่อนขอดของคนอื่น ความวิปฏิสาร การฆ่าและการจองจำเป็นต้น และอาสวะอันเป็นทุกข์พิเศษในอบาย ย่อมตั้งอยู่นั่นเทียว ในวีติกกมธรรมเหล่าใด เพราะวีติกกมธรรมเหล่านั้น เป็นเหตุแห่งอาสวะมีอาสวะอันเป็นไปในทิฏฐธรรมเป็นต้นเหล่านั้น.
    ๑- วาจาสำหรับประกอบในคำว่า น ตาว เป็นต้นนี้ ดังนี้ว่า วีติกกมธรรมทั้งหลาย ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะเหล่านั้น ยังไม่มีปรากฏในสงฆ์เพียงใด พระศาสดาจะไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทแก่สาวกทั้งหลายเพียงนั้น. ก็ถ้าพึงบัญญัติไซร้ ไม่พึงพ้นจากความค่อนขอดของผู้อื่น จากความคัดค้านของผู้อื่น จากโทษคือความติเตียน.
    ____________________________
    ๑- องค์การศึกษาแผนกบาลี แปลออกสอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๔๘๐

    [ข้อที่จะถูกตำหนิในการบัญญัติสิกขาบท]
    ถามว่า ไม่พึงพ้นอย่างไร?
    ตอบว่า จริงอยู่ สิกขาบททั้งปวงมีอาทิว่า โย ปน ภิกฺขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิสเวยฺย ดังนี้ พึงเป็นสิกขาบทอันพระศาสดาผู้จะบัญญัติ ควรบัญญัติ.
    ฝ่ายชนเหล่าอื่นไม่เห็นวีติกกมโทษ แต่รู้พระบัญญัตินี้ จะพึงยังความค่อนขอด ความคัดค้านและความติเตียนให้เป็นไปอย่างนี้ว่า นี่อย่างไรกัน พระสมณโคดมจักผูกมัดด้วยสิกขาบททั้งหลายจักบัญญัติปาราชิก ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ว่า ภิกษุสงฆ์ยอมตามเรา ทำตามคำของเรา กุลบุตรเหล่านี้ละกองโภคะใหญ่ละเครือญาติใหญ่ และละแม้ซึ่งราชสมบัติอันอยู่ในเงื้อมมือบวช เป็นผู้สันโดษด้วยความเป็นผู้มีอาหารและเครื่องนุ่งห่มเป็นอย่างยิ่ง มีความเคารพจัดในสิกขา ไม่ห่วงใยในร่างกายและชีวิตอยู่มิใช่หรือ ในกุลบุตรเหล่านั้น ใครเล่าจักเสพเมถุนซึ่งเป็นโลกามิสหรือจักลักของๆ ผู้อื่น หรือจักเข้าไปตัดชีวิตของผู้อื่น ซึ่งเป็นของปรารถนารักใคร่หวานยิ่งนัก หรือจักสำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยอวดคุณที่ไม่มี, เมื่อปาราชิกแม้ไม่ทรงบัญญัติไว้ สิกขาบทนั่นเป็นอันพระองค์ทรงทำให้ปรากฏแล้ว โดยสังเขปในบรรพชานั่นเอง มิใช่หรือ?
    ชนทั้งหลายไม่ทราบเรี่ยวแรง และกำลังแม้แห่งพระตถาคต, สิกขาบทแม้ที่ทรงบัญญัติไว้ จะพึงกำเริบ คือไม่คงอยู่ในสถานเดิม.

    [เปรียบด้วยแพทย์ผู้ไม่ฉลาดทำการผ่าตัด]
    แพทย์ผู้ไม่ฉลาด เรียกบุรุษบางคน ซึ่งหัวฝียังไม่เกิดขึ้นมาแล้วบอกว่า มานี่แน่ะ พ่อมหาจำเริญ! หัวฝีใหญ่จักเกิดขึ้นในสรีระประเทศตรงนี้ของท่าน, จักยังความเสื่อมฉิบหายให้มาถึงท่าน, ท่านจงรีบให้หมอเยียวยามันเสียเถิด ดังนี้ ผู้อันบุรุษนั้นกล่าวว่า ดีละ ท่านอาจารย์! ท่านนั่นแหละจงเยียวยามันเถิด จึงผ่าสรีรประเทศซึ่งหาโรคมิได้ของบุรุษนั้น คัดเลือดออกแล้วทำสรีรประเทศตรงนั้นให้กลับมีผิวดีด้วยยาทาและพอก และการชะล้างเป็นต้นแล้ว จึงกล่าวกะบุรุษนั้นว่า โรคใหญ่ของท่าน เราได้เยียวยาแล้ว ท่านจงให้บำเหน็จแก่เรา.
    บุรุษนั้นพึงค่อนขอด พึงคัดค้านและพึงติเตียนนายแพทย์อย่างนี้ว่า หมอโง่นี่พูดอะไร ได้ยินว่าโรคชนิดไหนของเรา ซึ่งหมอโง่นี้ได้เยียวยาแล้ว, หมอโง่นี้ทำทุกข์ให้เกิดแก่เรา และทำให้เราต้องเสียเลือดไปมิใช่หรือ ดังนี้ และไม่พึงรู้คุณของหมอนั้น ข้อนี้ชื่อแม้ฉันใด,
    ถ้าเมื่อวีติกกมโทษยังไม่เกิดขึ้น พระศาสดาพึงบัญญัติสิกขาบทแก่พระสาวกไซร้ พระองค์ไม่พึงพ้นจากอนิฏฐผล มีความค่อนขอดของผู้อื่นเป็นต้น และชนทั้งหลายจะไม่พึงรู้กำลังพระปรีชาสามารถของพระองค์ ฉันนั้นนั่นแล และสิกขาบทที่ทรงบัญญัติแล้ว จะพึงกำเริบ คือไม่ตั้งอยู่ในสถานเดิม. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า น ตาว สารีปุตฺต สตฺถา สาวกานํ ฯเปฯ ปาตุภวนฺติ.
    พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงกาลอันไม่ควรอย่างนี้แล้ว จึงตรัสคำว่า ยโต จ โข สารีปุตฺต เป็นอาทิ เพื่อแสดงกาลอีก.
    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยโต คือเมื่อใด. มีคำอธิบายว่า ในกาลใด.
    คำที่เหลือ พึงทราบโดยทำนองที่กล่าวแล้วนั่นแล.
    อีกนัยหนึ่ง ในคำว่า ยโต เป็นต้นนี้ มีความสังเขปดังต่อไปนี้ :-
    วีติกกมโทษอันถึงซึ่งการนับว่า ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ ย่อมมีปรากฏในสงฆ์ ในกาลชื่อใด, ในกาลนั้น พระศาสดาย่อมทรงบัญญัติสิกขาบทแก่พวกสาวก ย่อมทรงแสดงปาฏิโมกข์,
    เพราะเหตุไร?
    เพราะเพื่อกำจัดวีติกกมโทษเหล่านั้นนั่นแล อันถึงซึ่งการนับว่า ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ. พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อทรงบัญญัติอย่างนั้น ย่อมเป็นผู้ไม่ควรค่อนขอดเป็นต้น และเป็นผู้มีอานุภาพปรากฏ ในสัพพัญญูวิสัยของพระองค์ ย่อมถึงสักการะ และสิกขาบทของพระองค์นั้นย่อมไม่กำเริบ คือตั้งอยู่ในสถานเดิม,
    เปรียบเหมือนนายแพทย์ผู้ฉลาดเยียวยาหัวฝีที่เกิดขึ้นแล้วด้วยการผ่าตัดพอกยาพันแผลและชะล้างเป็นต้น ทำให้สบายมีผิวดี เป็นผู้ไม่ควรค่อนขอดเป็นต้นเลย และเป็นผู้มีอานุภาพปรากฏในเพราะกรรมแห่งอาจารย์ของตน ย่อมประสบสักการะฉะนั้น.
    พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสความไม่เกิดขึ้นและความเกิดขึ้นแห่งธรรมเป็นที่ตั้งของอาสวะ อกาลและกาลแห่งอันบัญญัติสิกขาบทอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อแสดงกาลยังไม่เกิดขึ้นแห่งธรรมเหล่านั้นแล จึงตรัสคำว่า น ตาว สารีปุตฺต อิเธกจฺเจ เป็นต้น.
    ในคำว่า ตาว เป็นต้นนั้น บททั้งหลายที่มีอรรถตื้น พึงทราบด้วยอำนาจพระบาลีนั่นแล.
    ส่วนการพรรณนาบทที่ไม่ตื้นดังต่อไปนี้ :-

    [อธิบายเหตุที่ให้ทรงบัญญัติสิกขาบท]
    ภิกษุทั้งหลาย ชื่อว่า รัตตัญญู เพราะอรรถว่า รู้ราตรีนาน คือรู้ราตรีเป็นอันมากตั้งแต่วันที่ตนบวชมา. มีอธิบายว่า บวชมานาน. ความเป็นหมู่ด้วยพวกภิกษุผู้รู้ราตรีนาน ชื่อว่ารัตตัญญุมหัตตะ. อธิบายว่า ความเป็นหมู่ใหญ่ด้วยพวกภิกษุผู้บวชมานาน.
    ๑- บัณฑิตพึงทราบว่า สิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภพระอุปเสนวังคันตบุตร บัญญัติเพราะสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่ด้วยภิกษุผู้รู้ราตรีนาน ในบรรดาความเป็นหมู่ใหญ่เหล่านั้น.
    จริงอยู่ ท่านผู้มีอายุนั้นได้เห็นภิกษุทั้งหลาย ผู้มีพรรษาหย่อนสิบให้อุปสมบทอยู่ ตนมีพรรษาเดียว จึงให้สัทธิวิหาริกอุปสมบทบ้าง. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุทั้งหลาย! กุลบุตรอันภิกษุผู้มีพรรษาหย่อนสิบ ไม่พึงให้อุปสมบท, ภิกษุใดพึงให้อุปสมบท ปรับอาบัติทุกกฏแก่ภิกษุนั้น.๒-
    เมื่อสิกขาบทอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแล้วอย่างนั้น ภิกษุทั้งหลายผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด คิดว่า เราได้สิบพรรษา เรามีพรรษาครบสิบ จึงให้อุปสมบทอีก.
    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงบัญญัติสิกขาบทแม้ซ้ำอีกครั้งหนึ่งว่า ภิกษุทั้งหลาย! กุลบุตรอันภิกษุผู้มีพรรษาครบสิบ แต่เป็นผู้โง่ ไม่ฉลาด ไม่พึงให้อุปสมบท, ภิกษุใดพึงให้อุปสมบท ปรับอาบัติทุกกฏ แก่ภิกษุนั้น, ภิกษุทั้งหลาย! เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด สามารถมีพรรษาสิบหรือเกินกว่าสิบ ให้อุปสมบทได้.๓-
    ในกาลที่สงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่ด้วยภิกษุผู้รู้ราตรีนาน ได้ทรงบัญญัติสองสิกขาบท.


    ใครเป็นคนทูลขอ?
    เข้าใจกันขึ้นมาบ้างหรือยัง สำหรับพวกวัดนา
    แล้วจะไปกล่าวโทษพระสาวกแก้วพระมหาเถระทั้งหลายได้อย่างไร? ก็ท่านได้วอนขอให้ทรงบัญญัติสิกขาบทเสียด้วยซ้ำ
    จะให้พระพุทธเจ้าทรงเสกตำรา หรือเสกพระไตรปิฏกในพุทธสมัยพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆให้หรืออย่างไร?
    หรือคิดว่าพระองค์ไม่สามารถจะทำเช่นนั้นได้
    เรื่องสังคายนาสร้างพระไตรปิฏกนั้นเป็นกิจของพระธรรมทายาทที่จะต้องทำการรวบรวม ว่าทรงแสดงที่ไหนอย่างไร?
    ถ้าท่านไม่ทำอย่างนั้น เสกเอาแบบพุทธสมัยก่อนๆ มาอ้างอิงจะไม่ดีกว่าเหรอ หรือจะเอาไปซ่อนที่ไหนก็ได้ในที่เป็นทิพย์ พระไตรปิฏกน่ะ ทำไมถึไม่ทำอย่างนั้น ก็เพราะอะไร ก็เพราะพระสัทธรรม พระธรรมราชา พระไตรปิฏกพระธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บทนั้นยังทรงมีอยู่เสมอๆเป็น อกาลิโก และสามารถเข้าถึงได้ด้วยจักษุทั้งหลายไล่ตั้งแต่มังสังจักษุ พุทธจักษุ สมันตจักษุ ญานจักษุ ธรรมจักษุ ทิพยจักษุ เป็นต้นฯ
    และเมื่อเห็นเมื่อมองเมื่อเพ่งอยู่ก็ย่อมต้องวิมุตติญานทัสสนะไปในขณะเดียวกันด้วย ครั้นจากนั้นจึงพิจารณาเสวยอมฤตธรรม อันเป็นสุขจากการพิจารณาธรรม เมื่อออกจากสภาวะจึงต้องขออัญเชิญน้อมนำลงมาสู่แบบแผน มาสู่มุขปาฐะ มาสู่บันทึกใบลาน สู่คัมภีร์หนังสือเป็นต้น
    จะก๊อปมา ทั้งๆที่มีของจริงอยู่ คนละเรื่องกันเลยนะจะบอกให้
    เรื่องนี้ถ้าเราไม่วิสัชนา ก็ต้องรอ ผู้มีปฎิสัมภิทาญานคนข้างหน้านั้นมาบอก แล้วเขาก็จะมาอธิบายแบบเราหรืออาจจะดีกว่าที่เราได้แสดงไว้
    หูตาสว่างขึ้นมาบ้างหรือยัง?
    พวกสำนักวัดนาป่าพง

    แค่เรื่องพระไตรปิฏกพระมหาเถระหรือพระพุทธเจ้าท่านอธิษฐานไว้ หรือ เนรมิตไว้ก็ได้แล้ว ไม่ต้องมาสังคายนาให้มันยุ่งยากหรอก

    แต่มันเป็นการดูหมิ่นพระสัทธรรม ในการสร้างสัทธรรมปฎิรูปที่ไม่บริสุทธิคุณ เอาของเก๊มาตีเสมอท่าน

    ไม่มีปฎิสัมภิทาญาน อย่าริอาจสร้างหรือเปลี่ยนแปลงแก้พระไตรปิฏกไม่ใช่ฐานะ
    จำใส่กระโหลกไว้คึกฤทธิ์ เอ็งมันทำให้พระธรรมคำสั่งสอนที่สมเด็จพระบรมมหาศาสดาแสดงไว้แล้วนี้เศร้าหมอง



    "ใครพิจารณาได้ที่แสดงแล้วไว้นี้ จักเกิดประโยชน์มาก"

    เปิดธรรมที่ถูกปิด พุทธวจน พึงตั้งจิตไว้ให้มั่นในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส

    สโลแกนบ้าๆ

    ไอ้พวกนี้ มันโง่ ไม่รู้จักฐานะแห่งบรมครู ตำหนิเพื่อสรรสร้าง ตำหนิเพื่อเป็นตัวอย่าง ตำหนิเพื่อสอนภิกษุอื่น ซึ่งพระสาวกและพระสงฆ์รูปอื่นก็ยินดีที่ได้ถูกพระองค์ทรงตำหนิ ย้ำเตือน เพราะรู้ดี ว่าตนบวชเข้ามาในพระพุทธศาสนา เป็นประดุจบุตรของพระธรรมวินัยพระธรรมคำสั่งสอนของ
    พระพุทธเจ้า จึงไม่มีการเถียงคำไม่ตกฟากแม้แต่คำเดียว เพราะรักเคารพยอมรับ เปรียบประดุจการวางรากฐานการปฎิบัติในธรรมวินัยนี้ให้รุ่งเรืองเจริญสืบไป การปฎิบัติของท่านมหากัสสปะผู้ถือการอยู่ป่าครองนิสสัย ๔ ก็เช่นเดียวกัน นี่คือการวิสัชนาตอบกัน ระหว่าง พระบรมครูกับศิษย์ในแถว ศิษย์ปลายแถวที่ไหนจะเข้าใจได้ ไอ้คึกปัญญาโง่ๆอย่างนั้นมีหรือจะเข้าใจ
    ไอ้สำนักนี้มันคงไม่รู้จัก วันมหาปวารณา เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 พระพุทธเจ้าทรง อนุญาตให้พระภิกษุทำปวารณา คือ ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและกัน .

    มันไม่ได้ตำหนิพระพุทธเจ้าตรงๆ แต่มัน เผาตำรา ฆ่าอาจาร์ย และกินเนื้อ ซึ่งมันก็ทำแล้ว ถอดชื่อพระนาม สิทธัตถะของพระองค์ ถอดถอนพระสัทธรรม ทำลายรัตน ๓ ที่ทรงประกอบไว้ นี่ไคล์แม๊กเลยนะ เพราะเป็น นิรุตติญานทัสสนะ การสนทนาระหว่าง พระบรมครูและศิษย์ ไม่ใช่เรื่องๆเล่น ไอ้พวกบ้าอัตตาถืออคติตนเป็นใหญ่ มีธุลีในดวงตามาก ไม่มีทางเข้าใจหรอก สุดท้าย มันสร้างหนังสือ พระพุทธวจนะ ด้วยเหตุนี้ เพราะมันไม่เข้าใจ ฐานะแห่งพระบรมครูกับศิษย์ และ ความละเอียดอ่อนฯ ในปฎิสัมภิทาญาน เรื่องนี้เราควรแสดงเพื่อ ให้ทุกคนได้รู้ตาม ใครมองเห็นตามเราได้ เพียงน้อย ก็จะเข้าใจที่ต้นเหตุ การเกิดของ สำนักพุทธวจนะทันที เพราะมันตีความผิด พระไตรปิฏกมีให้เพื่อเป็นแนวทางสั่งสอนธรรมให้ปฏิบัติตาม ไม่ใช่ มีไว้ให้สำนักนี้ และไอ้ตัวดีกลับ ทำการสั่งสอนแก่พระไตรปิฏก คิดแล้ว สารเลวจริงๆ เกิดเป็นมนุษย์เสียเปล่า ลูกศิษย์มันก็โง่เหลือเกิน

    และที่แน่นอนที่สุด มันทำลายชื่อเสียงของเหล่าครูบาอาจาร์ย ในอดีต ของพวกเราท่านทั้งหลาย ที่ท่านผู้ทรงคูณูปการเหล่านั้น ได้ปฎิบัติและร่ำเรียนศึกษาในพระไตรปิฎก สร้างชาติ สืบสานพระพุทธศาสนามา ด้วยความยากลำบากจากอดีตจนมาสู่ยุคปัจจุบัน อย่าลืมคิดคำนึงถึงข้อนี้กันเลย กับสำนัก เผาตำราฆ่าอาจาร์ย อย่างบุคคลนี้ ตั้งแต่เกิดมาเรา ยังไม่เห็นใครชั่วเต็มรูปแบบอย่างนี้เลย ไม่ใช่แค่มหาโจรแต่เป็น มาร ๕ ๑๐๐ %
    ปฎิสัมภิทาญาน และ ปาติหาริย์ ๓ ไม่มี อาจหาญสังคายนาพระไตรปิฏก ด้วยตนเองคนเดียวยังไม่พอ นำสตรีมาร่วมด้วยอีก ทำเกินไปแล้ว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2016
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สุดฮา!!!



    ศิษย์ออกมาแถจนมั่วสุดท้ายศาสดาของตนเองปาราชิก เพราะตีความพระสูตรไม่เป็นไม่แจ่มแจ้งแทงตลอด

    ลูกศิษย์คึกฤทธิ์ยกพระสูตรออกมาหวังช่วยอาจารย์ให้รอดจาก การสำคัญผิดว่า"แม้สำคัญผิดว่าบรรลุโสดาบันนั้นก็เกิดประโยชน์ สำคัญผิดมาก ยิ่งมากยิ่งดี โลกยิ่งสงบสุข "
    แต่กลับเป็นการฆ่าอาจารย์ ยอมรับว่า ไอ้คึกฤทธิ์อาจารย์ของตนได้ต้องอาบัติปาราชิกไปแล้ว
    อ่านพระสูตร
    ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุเป็นอันมาก สำคัญมรรคผลอันตนยังมิได้เห็นว่าได้เห็น
    สำคัญมรรคผลอันตนยังมิได้ถึงว่าได้ถึง สำคัญมรรคผลอันตนยังมิได้บรรลุว่าได้บรรลุ สำคัญมรรคผลอันตนยังมิได้ทำให้แจ้งว่าได้ทำให้แจ้ง จึงอวดอ้างมรรคผลตามที่สำคัญว่าได้บรรลุ ครั้นต่อมา จิตของพวกเธอน้อมไปเพื่อความกำหนัดก็มี น้อมไปเพื่อความขัดเคืองก็มี น้อมไปเพื่อความหลงก็มี จึงมีความรังเกียจว่า สิกขาบทอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้แล้ว แต่พวกเราสำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้เห็นว่าได้เห็น สำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้ถึงว่าได้ถึง สำคัญมรรคผล
    ที่ตนยังมิได้บรรลุว่าได้บรรลุ สำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้ทำให้แจ้งว่าได้ทำให้แจ้ง จึงอวดอ้างมรรคผลตามที่สำคัญว่าได้บรรลุ พวกเราต้องอาบัติปาราชิกแล้วกระมังหนอ แล้วแจ้งเรื่องนั้นแก่ท่านพระอานนท์ๆ กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคตรัสว่า มีอยู่เหมือนกันอานนท์ ข้อที่ภิกษุทั้งหลายสำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้เห็นว่าได้เห็น สำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้ถึงว่าได้ถึง สำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้บรรลุว่าได้บรรลุ สำคัญมรรคผลที่ตนยังมิได้ทำให้แจ้งว่าได้ทำให้แจ้ง จึงอวดอ้างมรรคผลตามที่สำคัญว่าได้บรรลุ แต่ข้อนั้นนั่นแล เป็นอัพโพหาริก


    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้
    ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
    พระอนุบัญญัติ

    ๔. อนึ่ง ภิกษุใด ไม่รู้เฉพาะ กล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้
    ความเห็น อย่างประเสริฐ อย่างสามารถ น้อมเข้ามาในตนว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้
    ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ ***ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น ***อันผู้ใดผู้หนึ่ง ถือเอาตามก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม เป็นอันต้องอาบัติแล้ว มุ่งความหมดจด จะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    แน่ะท่าน ข้าพเจ้าไม่รู้อย่างนั้น ได้กล่าวว่ารู้ ไม่เห็นอย่างนั้น ได้กล่าวว่าเห็น ได้
    พูดพล่อยๆ เป็นเท็จเปล่าๆ เว้นไว้แต่สำคัญว่าได้บรรลุ แม้ภิกษุนี้ ก็เป็นปาราชิก
    หาสังวาสมิได้.

    คำว่า อัพโพหาริก โดยทั่วไปท่านแปลว่า “กล่าวไม่ได้ว่ามี”, มีแต่ไม่ปรากฏ จึงไม่ได้โวหารว่ามี, ไม่ควรกล่าว, คำนี้ส่วนใหญ่จะพบในพระวินัย เช่น เขาเจือสุราลงในอาหาร หรือเจือลงในยารักษาโรค พระภิกษุฉันได้ไม่ผิดข้อผิดสุรา หรือแป้งที่เขาผสมในงบน้ำอ้อย หรือยาเม็ด การฉันยาเม็ดที่มีแป้งผสมอยู่ในเวลาวิกาล ไม่กล่าวว่าฉันแป้ง ไม่เป็นอาบัติ ยังไม่พบคำอธิบายแบบแยกศัพท์ ถ้าแยกควรจะเป็น อัพพ + โวหาร + อิก


    ครั้นสมัยอื่นแต่นั้น คือหลังจากที่ได้ทรงตำหนิบัญญัติสิกขาบทแล้ว ต้องอาบัติทั้งหมดทั้งสิ้น

    นั่งแทรกสงฆ์ไม่รู้ตั้งแต่ตอนไหนแล้วไอ้คึกน่ะนะ ติดลบแล้วนะเอ็งคึกฤทธิ์ ปาราชิกด้วยตนเองไม่พอลากลิ่วล้อไปปาราชิกด้วย บริวารก็บ้าไปตามๆกัน

    *****สรุปรับผลกรรมกันถ้วนหน้า บ้าทั้งลูกศิษย์ทั้งอาจารย์******
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลายฯ การบรรลุธรรม หมายความว่า มีคุณลักษณะตามความเป็นอริยะบุคคล เช่นพระโสดาบัน เป็นต้น มีความรู้สึกว่า ทำไม่ได้ ไม่ได้ทำ หิริโอตัปปะ สรุปโดยรวม อ่านพุทธวจนปิฏก ได้บรรลุแน่นอนฯลฯ

    คึกวจน 888 พระสูตร บรรลุธรรมโดยไม่มีและไม่ได้ในวิมุตติญานทัสสนะ
    คึกฤทธิ์เอาอะไรไปบันทะลุ วิมุตติญานทัสสนะก็ไม่เคยมีเคยได้แต่มาพยากรณ์การบรรลุธรรมที่ต้องอาศัยต้องได้ในวิมุตติ


    พยสนสูตร
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดด่าบริภาษเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย
    กล่าวโทษพระอริยะ ภิกษุนั้นจะไม่พึงถึงความฉิบหาย ๑๐ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งข้อนี้มิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ความฉิบหาย ๑๐ อย่างเป็นไฉน คือ
    ภิกษุนั้นไม่บรรลุธรรมที่ยังไม่บรรลุ ๑
    เสื่อมจากธรรมที่บรรลุแล้ว ๑
    สัทธรรมของภิกษุนั้นย่อมไม่ผ่องแผ้ว ๑
    เป็นผู้เข้าใจว่าตนได้บรรลุในสัทธรรมทั้งหลาย ๑
    เป็นผู้ไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ ๑
    ต้องอาบัติเศร้าหมองอย่างใดอย่างหนึ่ง ๑
    ย่อมถูกโรคอย่างหนัก ๑
    ถึงความเป็นบ้า มีจิตฟุ้งซ่าน ๑
    เป็นผู้หลงใหลกระทำกาละ ๑
    เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ๑
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดด่าบริภาษเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย กล่าวโทษพระอริยะ ภิกษุนั้นจะไม่พึงถึงความฉิบหาย๑๐ อย่างนี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อนี้มิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ฯ
    จบสูตรที่ ๘
    วิมุตติ คืออะไร?
    ตอบ พระพุทธศาสนาแสดง วิมุตติ คือความหลุดพ้นจากกิเลสไว้ ๕ อย่างคือ
    ๑. วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการข่มไว้ด้วยอำนาจของฌาน เพียงปฐมฌานก็สามารถข่มธรรมอันเป็นข้าศึก คือนิวรณ์ ๕ มีกามฉันทะนิวรณ์ได้แล้ว แต่ไม่อาจละนิวรณ์ ๕ ให้ขาดไปจากใจได้ หมดอำนาจฌาน กิเลสคือนิวรณ์ก็เกิดได้อีก
    ๒. ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยองค์นั้น ด้วยอำนาจของวิปัสสนาญาณ เพียงได้นามรูปปริจเฉทญาณ ปัญญาที่แยกนามกับรูปว่าเป็นคนละอย่าง ก็สามารถละความเห็นผิดว่านามรูป เป็นตัวตนได้ชั่วคราว
    ๓. สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นจากกิเลส ด้วยการตัดขาด ด้วยมรรคญาณ กิเลสที่ถูกตัดขาดไปแล้วย่อมไม่กลับมาเกิดได้อีก
    ๔. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นจากกิเลส เพราะกิเลสทั้งหลายสงบระงับไปในขณะแห่งผลจิต
    ๕. นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยการสลัดออกจากธรรมอันเป็นข้าศึกคือกิเลส ด้วยนิพพาน
    ในวิมุตติ ๕ อย่างนี้ วิมุตติ ๒ อย่างแรกเป็นโลกียะ ส่วนวิมุตติ ๓ อย่างหลังเป็นโลกุตตระ ปัญญาคือความรู้ในวิมุตติ ๕ อย่างนั้น เรียกว่า วิมุตติญาณ
    ใน อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต กล่าวถึงวิมุตติ ๒ อย่างคือ เจโตวิมุตติ และปัญญาวิมุตติ ว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่เศร้าหมองด้วยราคะ ย่อมไม่หลุดพ้น หรือปัญญาที่เศร้าหมองด้วยอวิชชา ย่อมไม่เจริญด้วยประการฉะนี้แล
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะสำรอกราคะได้ จึงชื่อว่าเจโตวิมุติ เพราะสำรอกอวิชชาได้จึงชื่อว่าปัญญาวิมุติฯ
    ขยายความ โดยปริยายหนึ่งๆ ว่า :-
    เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยใจ ได้แก่ ผลสมาธิ คือสมาธิที่ประกอบกับอรหัตตผลจิต
    ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยปัญญา ได้แก่ ผลปัญญา คือปัญญาที่ประกอบกับอรหัตตผลจิต
    เพราะฉะนั้น เมื่อว่าโดยพระอภิธรรมแล้ว เจโตวิมุตติกับปัญญาวิมุตติ จึงเกิดขึ้นพร้อมกันกับอรหัตตผลจิต ก็เจโตวิมุตตินั้น ได้แก่ เอกัคคตาหรือสัมมาสมาธิ ปัญญาวิมุตติ ได้แก่ ปัญญาหรือสัมมาทิฐิ ที่ประกอบด้วยอรหัตตผลจิต
    อริยมรรค ชื่อว่า กำลังหลุดพ้นจากกิเลส
    อริยผล ชื่อว่า หลุดพ้นแล้วจากกิเลส
    อริยมรรคนั้นเป็นกุศลจิตมี ๔ คือโสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค
    อริยผลเป็นผลของมรรคเป็นวิบากจิต ก็มี ๔ เท่ากับอริยมรรค คือโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และอรหัตตผล
    ในขณะที่มรรคจิตอันเป็นกุศลเกิดขึ้น ทำลายกิเลสให้ขาดเป็นสมุจเฉทแล้วดับไป ผลจิตอันเป็นวิบากจะเกิดขึ้นสืบต่อจากมรรคจิตทันที โดยไม่มีจิตอื่นมาเกิดคั่นในระหว่างนั้น นั่นคือเมื่อมรรคอันเป็นเหตุเกิดขึ้นแล้วดับลง ผลของมรรคจะเกิดต่อทันที โดยไม่มีจิตอื่นมาคั่น
    การที่มรรคจิตอันเป็นกุศลเกิดขึ้นแล้วดับไปผลจิตอันเป็นวิบากก็เกิดขึ้นทันที โดยไม่ต้องรอเวลา นี้แหละชื่อว่า อกาลิโก เพราะไม่มีกาลเวลาในการให้ผลกุศลอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นมหากุศลหรือฌานกุศลเมื่อเกิดขึ้นและดับไปแล้วที่จะให้ผลทันทีเหมือนมรรคจิตหามีไม่ ต้องรอเวลาที่จะให้ผลทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นมรรคจิตเท่านั้นจึงชื่อว่า อกาลิโก กุศลอื่นๆ ไม่ชื่อว่าอกาลิโก
    ในอรรถกถา ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ สัททสูตร กล่าวว่า สมาธิชื่อว่า เจโตวิมุตติ เป็นผลของสมถะ และที่สมาธิได้ชื่อว่าเจโตวิมุตติเพราะพ้นจากราคะ
    ปัญญาชื่อว่าปัญญาวิมุตติ เป็นผลของวิปัสสนา และที่ปัญญาได้ชื่อว่าปัญญาวิมุตติ เพราะพ้นจากอวิชชา
    ใน คัมภีร์บุคคลบัญญัติ แสดงวิมุตติของพระอรหันต์ ๒ อย่าง คือ อุภโตภาควิมุตติ และปัญญาวิมุตติ ไม่มีเจโตวิมุตติ
    อุภโตภาควิมุตติ ได้แก่ บุคคลที่ได้สมาบัติ ๘ คือได้ทั้งรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ ออกจากสมาบัติแล้วเจริญวิปัสสนา เห็นความเสื่อมไปสิ้นไปของสังขารทั้งหลายด้วยวิปัสสนาปัญญา เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยมรรคปัญญา กล่าวคือบุคคลประเภทอุภโตภาควิมุตตินี้พ้นจากรูปกายคือรูปฌานด้วยอรูปฌานหรืออรูปสมาบัติ และเพราะเจริญฌานที่มีอรูปเป็นอารมณ์ จึงชื่อว่าพ้นจากรูปกายด้วยอรูปสมาบัติก่อนเป็นครั้งแรก จากนั้นจึงพ้นจากนามกาย คือกิเลสด้วยอริยมรรคเป็นครั้งที่สอง เพราะฉะนั้นจึงชื่อว่าอุภโตภาควิมุตตบุคคล เพราะหลุดพ้นจากส่วนสองคือ ๒ ครั้ง ครั้งแรกพ้นจากรูปกายด้วยอรูปสมาบัติ ครั้งที่ ๒ พ้นจากกิเลสด้วยอริยมรรค
    ท่านจัดบุคคลที่ชื่อว่าอุภโตภาควิมุตติไว้ ๕ พวกคือบุคคลที่ได้อรูปสมาบัติ ๔ ออกจากอรูปสมาบัติแต่ละสมาบัติแล้ว พิจารณาสังขารทั้งหลายแล้วจึงบรรลุพระอรหัตต์จัดเป็น ๔ พวก กับพระอนาคามีผู้ออกจากนิโรธสมาบัติแล้ว บรรลุพระอรหัตต์อีกพวกหนึ่ง จึงเป็น ๕ พวก
    สรุปว่า บุคคลที่ได้ชื่อว่า อุภโตภาควิมุตตินั้น ได้แก่พระอรหันต์ผู้ได้สมาบัติ ๘ เท่านั้น
    ปัญญาวิมุตติ ได้แก่บุคคลผู้มิได้ถูกต้องสมาบัติ ๘ ด้วยกาย แต่หลุดพ้นจากกิเลสเพราะเห็นด้วยปัญญา ท่านจัดปัญญาวิมุตติบุคคลไว้ ๕ พวก คือพระอรหันต์ผู้สุกขวิปัสสก คือเจริญวิปัสสนาล้วนๆ พวกหนึ่ง และบุคคลผู้ออกจากรูปฌาน ๔ แต่ละฌานแล้วเจริญวิปัสสนา แล้วบรรลุพระอรหันต์อีก ๔ พวกคือ
    ออกจากปฐมฌานแล้วบรรลุพระอรหัตต์ ๑ ออกจากทุติยฌานแล้วบรรลุพระอรหัตต์ ๑
    ออกจากตติยฌานแล้วบรรลุพระอรหัตต์ ๑ ออกจากจตุตถฌานแล้วบรรลุพระอรหัตต์อีก ๑ จึงรวมเป็น ๕ พวก ซึ่งพระอรหันต์ทั้ง ๕ พวกนี้ไม่มีท่านใดเลยที่ได้สมาบัติ ๘ อย่างมากก็ได้เพียงรูปฌาน ๔ เท่านั้น
    ถึงกระนั้น บุคคลทั้งสองพวกนี้ คือทั้งอุภโตภาควิมุตติและปัญญาวิมุตติต่างก็ได้ชื่อว่า พระอรหันต์ผู้หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวงเป็นสมุจเฉทวิมุตติด้วยกันทั้งสิ้น
    หมายเหตุ
    สมาบัติ ๘ นั้นได้แก่ รูปฌาน ๔ คือปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน และอรูปฌาน ๔ คืออากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน และเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
    นิโรธสมาบัติหรือสัญญาเวทยิตนิโรธ คือการเข้าสมาบัติด้วยการดับสัญญาและเวทนา ซึ่งรวมไปถึงการดับจิตและเจตสิกอื่นๆ พร้อมทั้งรูปที่เกิดจากจิตด้วย แต่รูปที่เกิดจากกรรม จากอุตุและอาหารยังคงเป็นไปอยู่ เพราะฉะนั้นผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติจึงยังมีชีวิตอยู่ ผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติได้นั้นมี ๒ พวก คือพระอนาคามีหรือพระอรหันต์ผู้ได้สมาบัติ ๘ เท่านั้น พระอริยบุคคลนอกจากนั้นเข้าไม่ได้ และท่านจะเข้านิโรธสมาบัติกันอย่างมาก ๗ วัน ก่อนเข้าท่านจะต้องทำบุพกิจ ๔ อย่าง คือ
    ๑. อธิษฐานไม่ให้บริขารและร่างกายของท่านเป็นอันตราย
    ๒. อธิษฐานขอให้ออกจากฌานได้โดยไม่ต้องมีใครมาเรียก เมื่อสงฆ์ต้องการพบท่าน
    ๓. อธิษฐานขอให้ออกจากฌานได้โดยไม่ต้องมีใครมาเรียก เมื่อพระพุทธองค์ทรงมีพระประสงค์จะพบท่าน
    ๔. พิจารณาอายุของท่านว่าจะอยู่ได้ครบ ๗ วันหรือไม่ ถ้าอยู่ครบ ท่านก็อธิษฐานกำหนดเวลาเข้า ถ้าอยู่ไม่ครบ ๗ วัน ท่านก็กำหนดเวลาเข้าให้น้อยกว่า ๗ วัน

    [ame]https://youtu.be/8fsJt6HOYFk[/ame]


    ลูกศิษย์คึก แถจนยอมรับ ว่าอาบัติปาราชิก แดกคึกฤทธิ์โดยไม่รู้ตัว สุดสะอื้น ในครานี้แลฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 ตุลาคม 2016
  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สุดท้ายก็พลาดท่าเสียที แหม ถ้าไม่โดนเว็บพันทิปบล๊อคไว้ล่ะก็ ฮากระจาย

    มันติดลบไปแล้วยังพาภิกษุรูปอื่นต้องอาบัติปาราชิกไปด้วย โยมก็บ้าไปด้วย กรรมมันอย่างนั้น


    http://palungjit.org/threads/ลูกศิษ...ธิ์โดยไม่รู้ตัว-สุดสะอื้น-ในครานี้แลฯ.570766/
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2016
  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ฝากไปบอกทีครับ ว่าโดนพันทิปบล๊อคเพราะผมแสดงแนว hardcore ต้องใช้วิจารณญาณสูงในการอ่าน

    เชิญที่เว็บบอร์ดพลังจิตครับ มากระทู้นี้หรือตั้งกระทู้ใหม่ก็ได้ จัดเรียงที่คิดว่าผิดไว้ เป็นข้อๆ ผมพอวิสัชนาได้ในเสกขภูมิ

    แต่ถ้าไม่ยอมรับจะเอาแต่ ปริยัติงูพิษ มาฆ่ากัน เชิญเรียนเอาฝ่ายเดียวครับ

    อ่านหนังสือหน้าเดียวกัน อย่าคิดว่าจะมีสติปัญญาในการรู้การเห็นและเข้าใจได้อย่างเท่าเทียมกัน ถ้ามาแต่ปริยัติ ปฎิบัติไม่มี ปฎิเวธไม่ได้

    น่าจะคุยกันไม่รู้เรื่องครับ

    """"""""""""""ความเห็น
    ของสมาชิกหมายเลข 2277768 ไอ้หน้ากากเสือ แต่จริงๆเป็นได้แค่เพียง ( จิ้งเหลน ) เฉลิมศักดิ์

    สงสัยจะไม่ยอมรับ พระไตรปิฏก อรรถกถา นิกายเถรวาท แบบสาวกเดียรถีย์เงื่อม

    เห็น ออกมาปกป้อง เดียรถีย์เงื่อม สงสัย จะเข้ากันได้กับพวกเดียรถีย์เงื่อม น่ะ
    """"""""""""""


    ถ้าปัญญาอ่อน ไม่รู้จักปฎิสัมภิทาแบบนี้ ก็คุยกับผมไม่รู้เรื่องเหมือนกันครับ


    ว่าไง เหลิม ลอกปริยัติมาเต็มๆสิท่า! ไม่พัฒนาตนเองเลยโง่ดักดาน

    สำหรับผู้ปรารถนาแก้ปริศนาธรรมเพื่อเอาวิชา ในการที่โจมตีท่านพุทธทาสมาตลอด

    ฝากไว้สำหรับลูกศิษย์ผู้ศรัทธาท่านครับโดยเฉพาะ


    ผมแก้ได้ และก็แก้ให้ท่านมาพอสมควร บางอย่างผมก็คิดว่าท่านพุทธทาสทิ้งหมากไว้ให้แก้ ผมเพ่งในธรรมที่มีโทษ ไม่ใช่เพ่งโทษที่ตัวท่าน

    เพราะฉนั้น ใครจะตำหนิติเตียนท่านพุทธทาส ผมก็ประเมินปัญญาเขาไว้ว่า"ไม่ใช่และไม่ถูกจริตของเขา คำสอนของมังกรก็ต้องมีแต่เหล่ามังกรที่เข้าใจ ไม่ใช่กิ้งก่ากะปอมที่ไหนจะเข้าใจได้ "


    อยากเห็น 2 เทพนี้ สนทนาธรรมกัน - Pantip


    พึ่งจะเจอ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 ตุลาคม 2016
  10. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    แหล่งกบดานของคึกเขาล่ะตัวเอง เห็นไหม?ว่าคึกเขามีที่กบดานมากมายขนาดไหน มีแม้แต่ในท้องทะเล ไปดำดูปะการัง ดูไม่ค่อยน่าเชื่อถือเลย มีที่ซีเรียด้วย 5555

    http://buddha-net.com
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 ตุลาคม 2016
  11. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ใครว่าหลักฐานอ่อน หึหึ! ดูไว้ซะแก่จนเสียวสันหลังคลั่งตายกันเลยทีเดียว

    ♥สับขาหลอกไว้ ♥

    ถึงจุดจบง่ายๆครับ แค่ตัวนี้เป็นการกล่าวหาตู่และกล่าวหาศาสนาอิสลามได้เลย

    ถึงกับสำนักล่มได้เลยนะครับ จะบอกให้ ได้ออกข่าวเวียนทั่วโลกแน่

    "ศาสนาอิสลามจะไม่ตั้งภาคีหรือส่งเสริมยินดีกับคำสอนของศาสนาอื่นนะครับ ลองตรวจสอบดู ว่าข้อมูลนี้อยู่ตรงไหน เรื่องนี้อาจเป็นการกล่าวอ้าง ตู่ศาสนาอิสลามนะครับ สำนักวัดนาป่าพง" ได้ฉิบหายเลยนะครับ เพราะไปบอกว่าอิสลาม เห็นดีเห็นชอบด้วยเรื่อง หลักความเป็นจริงของมนุษย์ ผิดหลักรุก่นของศาสนาครับ เท่ากับว่า คนที่เป็นศาสนาอิสลามทั้งโลกที่ได้ฟังคึกฤทธิ์ แล้วยอมรับ ไม่ปฎิเสธคำสั่งสอนของศาสนาพุทธ และไม่มีใครสามารถปฎิเสธได้ บอกว่าคนศาสนาอิสลามชอบมากขนาดนำไปออกทีวีอิสลามทั่วโลก "

    จะเกิดความอื้อฉาว ให้กับศาสนาพุทธในประเทศไทย ฉิบหายกันเลยนะครับ เพราะไปบอกว่าอิสลาม เห็นดีเห็นชอบด้วยเรื่อง หลักความเป็นจริงของมนุษย์ ผิดหลักรุ่ก่นครับ เท่ากับว่า คนที่เป็นศาสนาอิสลามทั้งโลกที่ได้ฟังคึกฤทธิ์ ยอมรับไม่ปฎิเสธคำสั่งสอนของศาสนาพุทธ

    ใครรู้จัก เจ้าของกระทู้ใน พันทิป จัดเลยครับ ถามให้ที ว่ามาจากวีซีดีหรือหนังสือเล่มไหน ของสำนักคึก สำนักนี้กล่าวเท็จ กล่าวมั่วไปหมด ถึงกลับไปกล่าวตู่ศาสนาอื่นเลยหรือไง ศาสนาพุทธที่มันอาศัยผ้าเหลืองหากินมันยังบิดเบือนและสร้างปัญหาไม่พอยังลามไปสร้างปัญหากับศาสนาอื่นอีก

    จากพราหมณ์ ไปอิสลาม ไปคริสต์ เอาล่ะสิทีนี้

    อยู่ดีไม่ว่าดี

    ยามประจำ-เฉลิมศักดิ์-วงกลม คนเหล่านี้น่าจะรู้จักกันดี ฯลฯ
    http://topicstock.pantip.com/.../07/...Y10803815.html


    ในเสี่ยววินาที มีการลบกระทู้ ไปเรียบร้อย จากระบบ เพื่อป้องการติดตาม ขอให้ติดต่อไปที่ สมาชิกใกล้เคียง เจ้าตัวผู้โพส ระบุชื่อ อย่ามารู้จัก เดี๋ยวจะหลงรักผม พันทิป

    ผมกำลังติดตาม ท่านใดเป็นสมาชิก พันทิป พิมหาเนื้อความ ชื่อยูสเซอร์เลยครับ หรือถามๆ ดูจากสมาชิกอื่นที่สนทนา ตอนนี้พวกนั้นกำลัง พยายามปิดสื่อนี้ครับ งานนี้เอาจริง ส่งให้คณะกรรมการอิสลามแน่ครับ
    ไม่กี่นาทีเองครับ ที่โพส พวกสำนักวัดนาป่าพง มันพยายามหาทางลบกันวุ่นเลย!

    แต่พอเอาจริงๆดิ้นกันยังกะไส้เดือนโดนขี้เถ้า
    Pantip - Learn, Share & Fun
    TOPICSTOCK.PANTIP.COM


    การเสวนาครั้งนี้ ไม่ได้เป็นที่ยอมรับนะครับ ในโลกอิสลาม ทั้งในประเทศนี้ด้วย สำหรับศาสนาพุทธ ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของผู้ที่เลื่อมใสแล้ว

    สิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจ
    ประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑
    เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑

    ทำไมจึงยังมีผลอยู่จนถึงปัจจุบัน ศาสนาอิสลาม คริสต์จะรู้ไหม?ครับว่า สำนักวัดนาป่าพง นำเอาการเสวนาเช่นนี้ มาแอบอ้างยกตนว่า ศาสนิกอื่นต้องยอมรับไม่อาจถกเถียงปฎิเสธสิ่งที่คึกฤทธิ์นำมาแสดงได้ เป็นการหมิ่นศาสนาอื่น และสนตะพายจมูกสัตตานังที่โง่เขลาที่น้อมตัวตนเข้าศิโรราบแทบเท้าของไอ้คึก

    อวดอ้างเป็นผู้นำศาสนาพุทธแสดงปาฐกถาร่วมกับศาสนิกอื่นแล้วยกตนว่า สามารถทำให้ลัทธิอื่นซูฮกในการแสดงธรรมของตนเองได้ จนถึงขั้นนำมาเป็นจุดขายในปัจจุบัน ซึ่งจริงๆในวงการศาสนาเขาไม่ยอมรับครับ เคยดูแล้ว. คอยๆ

    ดูคลิปเสวนา ๓ ศาสนา

    [ame]https://youtu.be/dcnCI7WALxc[/ame]

    ผมเคยคุยแล้ว อาจารย์ บรรจง พร้อมครับ ถ้าจะเอาแบบหนักสุดกู่
    ถ้าเอาจริงกระจุยแล้วคึกฤทธิ์น่ะ !! หมิ่นศาสนาอื่นทั้งคริสต์และอิสลาม นี่เป็นแนวทางที่พระพุทธเจ้าโลกไหนสอน เขาอุตส่าห์มาร่วมงานด้วยความบริสุทธิ์ใจที่จะให้ความรู้ แต่กลับถูกนำมาแอบอ้างเพื่อโหนกระแสโชว์พาวเวอร์อวดฉลาด ทำให้เขาเสื่อมเสียชื่อเสียงเป็นอันมาก และเขาก็ไม่พอใจมากด้วยที่นำเขาไปหมิ่นศาสนาและศาสนิกชนของเขาด้วย
    ยังจะมามีหน้ามาแถลง หึหึ!
    ยอมเจ็บตัว แต่เอาความจริงให้ปรากฎง่ายนะ
    มีลูกไม้มาก หน้าด้าน ระวังให้ดีๆ คึกฤทธิ์และเหล่าบริวารสาวกมาร ๕






    สัทธรรมปฎิรูปเจอกับธรรมจาก คัมภีร์อัลกุรอ่านและคัมภีร์ไบเบิ้ลสักหน่อยไหม? คึกฤทธิ์

    พร้อมรับแขกที่ไม่ได้รับเชิญหรือยัง ?
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2016
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    นี่คือการวิสัชนา ระดับ พระอริยะระดับปฎิสัมภิทา ที่พวกสำนักวัดนาป่าพง กล่าวหาว่า คำสาวกฟังไม่ได้

    https://www.facebook.com/photo.php?fbid=930080010470020&set=gm.331105717244291&type=3&theater

    อีกนัยหนึ่งในกรณีที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มิได้ทรงห้ามปรามหรือทรงตำหนิ ติเตียนพระสาวก ที่ไปฟังคำเดียร์ถีย์ จะโดยตั้งใจหรือมิได้ตั้งใจก็ดี
    ไม่จบสักที่ในประเด็นนี้ เพราะอะไร เพราะไม่รู้จักปฎิสัมภิทาญาน เพราะไม่รู้จักพระสัทธรรม ก็พระสัทธรรมนั้นมีอยู่จริงและอยู่ที่ไหนคืออะไรหรือ ? ที่สำคัญทุกๆประเด็นต้องมีธรรม ๑๐ ประการ เป็นเลิศดังได้แสดงมาใน ณที่นี้
    นิททสะวัตถุ ๗ ประการ...
    ปฐมนิททสสูตร เล่ม 37 หน้าที่ 99- 101
    ครั้งนั้นแล เวลาเช้า
    ท่านพระสารีบุตรนุ่งแล้ว
    ถือบาตรและจีวร
    เข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี
    ครั้งนั้น ท่านคิดว่า
    เราจะเที่ยวไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี
    ก็ยังเช้านัก อย่ากระนั้นเลย
    เราควรเข้าไปยังอาราม
    ของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเถิด
    ครั้งนั้น
    ท่านพระสารีบุตรเข้าไปยังอาราม
    ของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    ได้สนทนาปราศรัย
    กับพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    ครั้นผ่านการปราศรัย
    พอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว
    จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ก็สมัยนั้น พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    กำลังนั่งประชุมสนทนากันว่าท่านมีอายุทั้งหลาย
    ท่านผู้ใดผู้หนึ่งประพฤติพรหมจรรย์บริสุทธิ์
    บริบูรณ์ครบ ๑๒ ปี ควรจะเรียกว่า
    ภิกษุผู้นิททสะ
    ท่านพระสารีบุตร
    ไม่ยินดี ไม่คัดค้านคำกล่าว
    ของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น
    ครั้นแล้วลุกจากที่นั่งหลีกไปด้วยตั้งใจว่า
    เราจะทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้
    ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    ลำดับนั้น
    ท่านพระสารีบุตรเที่ยวไป
    บิณฑบาตในกรุงสาวัตถีแล้ว
    กลับจากบิณฑบาตในเวลาปัจฉาภัต
    เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ
    ถวายอภิวาทแล้วนั่ง
    ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ครั้นแล้ว ได้กราบทูลว่า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
    ขอประทานพระวโรกาส
    เวลาเช้า ข้าพระองค์นั่งแล้ว
    ถือบาตรและจีวร
    เข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี
    ข้าพระองค์คิดว่า
    เราจะเที่ยวบิณฑบาต
    ในกรุงสาวัตถีก็ยังเข้านัก
    อย่ากระนั้นเลยเราควรเข้าไปยังอาราม
    ของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    ลำดับนั้น
    ข้าพระองค์เข้าไปยังอาราม
    ของพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    ได้สนทนาปราศรัยกับ
    พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว
    จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ก็สมัยนั้น
    พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชก
    กำลังนั่งประชุมสนทนากันว่า
    ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
    ท่านผู้ใดผู้หนึ่งประพฤติพรหมจรรย์
    บริสุทธิ์บริบูรณ์ครบ ๑๒ ปี
    ควรเรียกว่า ภิกษุผู้นิททสะ
    แต่ข้าพระองค์ไม่ยินดี ไม่คัดค้าน
    คำกล่าวของพวกอัญญเดียรถีย์
    ปริพาชกเหล่านั้น
    ครั้นแล้วลุกจากอาสนะ
    หลีกไปด้วยตั้งใจว่า
    เราจะรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้
    ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
    พระองค์อาจหรือหนอ
    เพื่อทรงบัญญัติภิกษุนิททสะ
    ด้วยเหตุเพียง
    การนับพรรษาอย่างเดียว ในธรรมวินัยนี้.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
    ดูก่อนสารีบุตร
    จะไม่มีใคร ๆอาจ
    เพื่อบัญญัติภิกษุผู้นิททสะ
    ด้วยเหตุเพียงนับพรรษาอย่างเดียว
    ในธรรมวินัยนี้
    ดูก่อนสารีบุตร
    วัตถุแห่งนิททสะ ๗ ประการนี้
    เรากระทำไห้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    ประกาศแล้ว
    นิททสะวัตถุ ๗ ประการเป็นไฉน
    ดูก่อนสารีบุตร ภิกษุในธรรมวินัยนี้
    เป็นผู้มีฉันทะกล้า
    ในการสมาทานสิกขา
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการสมาทานสิกขาต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในการฟังธรรม
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการฟังธรรมต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในการกำจัดความอยาก
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการกำจัดความอยากต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในการหลีกออกเร้น
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการหลีกออกเร้นต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในการปรารภความเพียร
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการปรารภความเพียรต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในสติเครื่องรักษาตัว
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในสติเครื่องรักษาตัวต่อไป ๑
    มีฉันทะกล้าในการแทงตลอดด้วยทิฐิ
    และมีความรักอย่างลึกซึ้ง
    ในการแทงตลอดด้วยทิฐิต่อไป ๑
    ดูก่อนสารีบุตร
    วัตถุแห่งนิททสะ๗ ประการนี้แล
    ถ้าประพฤติพรหมจรรย์
    บริสุทธิ์บริบูรณ์ครบ ๑๒ ปี
    ก็ควรจะเรียกได้ว่า ภิกษุผู้นิททสะ
    ถ้าประพฤติพรหมจรรย์บริสุทธิ์บริบูรณ์ครบ
    ๒๔ ปี ก็ดี...
    ๓๖ ปีก็ดี...
    ๔๘ ปีก็ดี
    ก็ควรจะเรียกได้ว่าภิกษุนิททสะ.
    จบ ปฐมนิททสสูตรที่ ๑๑
    *ทำความเข้าใจใหม่*
    ทรงห้ามเพราะเหตุอันใด ทรงอนุญาตเพราะเหตุอันใดในวาระใด ไม่ใช่ว่าทรงตรัสสั่งอย่างไม่ได้พิจารณา เพราะอย่างนั้นเราท่านจึงควรพิจารณาให้ดีๆ
    ‪#‎คึกฤทธิ์วัดนาป่าพงไม่มีคูณสมบัติใน‬ อุพพาหสูตร ก็ไม่ควรวิสัชนาและเพิกถอนธรรมใดเหมือนกัน#
    ****คึกฤทธิ์ไม่มีความสามารถในข้อนี้เพราะเหตุไร? ก็เพราะเป็นผู้ชื่นชอบการสร้างเหตุแห่งอธิกรณ์**** ไม่ใช่ผู้มีความสามารถดับอธิกรณ์
    อธิกรณ์ ในคำวัดใช้หมายถึงสาเหตุ คดีเรื่องราว ปัญหา ความยุ่งยาก กิจกรรมที่เกิดขึ้นในหมู่สงฆ์
    ๑. วิวาทาธิกรณ์ คือวิวาท ได้แก่การเถียงกันปรารภพระธรรมวินัยนี้ จะต้องได้รับชี้ขาดว่าถูกว่าผิด หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นการถกเถียงกันด้วยเรื่องพระธรรมวินัย
    ๒. อนุวาทาธิกรณ์ คือ ความโจทกล่าวหากันด้วยปรารภพระธรรมวินัยนี้จะต้องได้รับชี้ขาดว่าถูกว่าผิดหรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นการถกเถียงกันด้วยเรื่องอาบัติ
    ๓. อาปัตตาธิกรณ์ คือ กิริยาที่ต้องอาบัติหรือถูกปรับอาบัตินี้จะต้องทำคืน คือทำให้พ้นโทษ หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นการถกเถียงกันด้วยเรื่องการปรับอาบัติและวิธีการออกหรือพ้นจากอาบัติ
    ๔. กิจจาธิกรณ์ คือกิจธุระที่สงฆ์จะพึงสามัคคีร่วมกันทำ เรียกว่า สังฆกรรม เช่นให้อุปสมบทนี้จะต้องทำให้สำเร็จ
    คึกฤทธิ์จึงเป็นโมฆะบุรุษ
    อุพพาหสูตร
    อุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแลสงฆ์พึงสมมติเพื่อให้เป็นผู้รื้อฟื้นอธิกรณ์ ฯ
    พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการแล สงฆ์พึงสมมติเพื่อให้เป็นผู้รื้อฟื้นอธิกรณ์ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมแล้วในปาติโมกขสังวร ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษทั้งหลายอันมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑
    เป็นพหูสูต ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ เป็นผู้สดับมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจแทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ ซึ่งธรรมอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุดประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ปาติโมกข์ทั้ง ๒ เป็นอุเทศอันภิกษุนั้นจำดีแล้ว จำแนกดีแล้ว กล่าวดีแล้ว โดยพิสดาร วินิจฉัยดีแล้วโดยสูตรโดยอนุพยัญชนะ ๑ อนึ่ง ภิกษุนั้นเป็นผู้เคร่งครัดในวินัยไม่ง่อนแง่น ๑ เป็นผู้สามารถเพื่ออันยังคู่ความทั้ง ๒ ฝ่ายให้ยินยอม ให้ตรวจดู ให้เห็นเหตุผล ให้เลื่อมใสได้ ๑ เป็นผู้ฉลาดในการยังอธิกรณ์อันเกิดขึ้นให้ระงับ ๑ รู้อธิกรณ์ ๑ รู้เหตุเป็นที่เกิดขึ้นแห่งอธิกรณ์ ๑ รู้ความดับแห่งอธิกรณ์ ๑รู้ทางปฏิบัติเป็นเครื่องถึงความดับอธิกรณ์ ๑ ดูกรอุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม๑๐ ประการนี้แล สงฆ์พึงสมมติเพื่อให้เป็นผู้รื้อฟื้นอธิกรณ์ ฯ
    เราผู้เข้าถึงกระแส นิรุตติญานทัสสนะ แม้จะกำลังอ่อนเพราะด้วยวิสัยฆราวาส แม้ยังไม่มีคุณสมบัติดังใน"อุพพาหสูตร"จึงไม่สามารถจะพรรณนาอย่างถึงที่สุดกระจ่างได้
    แต่ก็จักขอวิสัชนาในข้อ สาวกในพระพุทธศาสนาภาษิตหรือสาวกอื่นนอกพระพุทธศาสนา อันพอทำให้เกิดปัญญามรรควิธีดังนี้
    มีหลายๆครั้งหลายหนหลายคราที่พระองค์ทรงมีวาทะกับเจ้าลัทธิอื่นๆและเดียร์ถีย์ผู้โอ้อวดท้าทายโต้วาทีสูตรกับพระองค์ หลายครั้งกลับต้องจนมุมในข้อวัตรลัทธิศาสนาของตนเอง จนทรงมีพระพุทธดำรัส ตรัสถาม ว่าสามารถรู้ยิ่งกว่าพระองค์หรือไม่ เช่น{O} "หากมีข้อใดบกพร่อง ติดขัด ตอบไม่ได้อธิบายไม่ได้ .ในคำสอนของลัทธิศาสนาของท่าน เราตถาคตจักเติมให้สมบูรณ์" {O} นี่หมายความว่าพระองค์ทรงรอบรู้ ทั้งพระสัทธรรมและอสัทธรรมนอกพระพุทธศาสนา รู้เหตุรู้ผลรู้ความเป็นไปรู้จบบทสรุปของทุกๆอย่างด้วยข่ายพระราชปัญญาญานอันเลิศ
    ฉนั้นข้อที่ว่าพระองค์ไม่ทรงอนุญาตให้ฟังหรือใคร่ครวญเนื้อธรรมในภาษิตใดๆจากที่ไหนก็ตามก็เป็นอันตกไป และถ้าไม่รู้เนื้อความไม่รู้ภาษาไม่เข้าใจในธรรมหรืออสัทธรรมใดๆ ก็ไม่มีทางที่จะไปแสดงวาทีสูตรโต้ตอบชี้แจงเหตุและผลแก่เจ้าลัทธิศาสนทูตเดียร์ถีย์อื่นๆได้ ก็จักเหมือนกับคึกฤทธิ์สำนักวัดนาป่าพงอวดอุตริยกตนเองข่มศาสนทูตในการเสวนา ๓ ฝ่าย ที่ผ่านมา ว่าตนทำให้ลัทธิศาสนาอื่นยอมรับได้
    การที่ไม่พิจารณาธรรมให้เป็นไปในหลักอันเป็นทางรอดที่บริสุทธิ์หมดจดคือ ต้องแสดงเนื้อความประโยค ที่ได้ตีความหมายให้รู้ซึ้งถึงเจตนาของอาจารย์ผู้สอน ให้ถูกต้องตามหลักธรรมทั้งมวลฯ โดยพิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบรู้ในธรรมของอาจารย์ดีแล้ว โดยนำสรุป เข้าสู่กระบวนการไตร่ตรอง พิจารณาตามหลักธรรมทั้งหลายฯ สรุปผลให้เป็น [สัมมาทิฏฐิ] นั่นคือ การแสดงเป็นอรรถาธิบาย โดยบริสุทธิ์บริบูรณ์ครบถ้วน ที่ไม่ว่าผู้ใด ก็ไม่สามารถหาเหตุข้อติดขัดใดๆ มาโต้แย้งได้
    ฉนั้น การรอบรู้ และรู้รอบด้านจึงเป็นประโยชน์มาก แต่ในการที่ทรงพระดำรัสตรัสสอนนี่ทรงสอนให้ตรงจริตกับผู้ฟังพระองค์ และพระองค์จึงทรงเคี่ยวเข็ญให้ฟังและรีบปฎิบัติธรรมและเรียนรู้พระปริยัติสั่งสมสุตตะให้มากๆ ไม่ควรจะฟังเงี่ยหูฟังธรรมอื่นๆใดๆที่ไม่ใช่สภาวะที่สมบูรณ์ด้วยอรรถะ, พยัญชนะ, ลึกซึ้ง, มีอรรถลึกซึ้ง, ประกาศโลกุตระ, ประกอบด้วยสุญญตา นั่นก็เพื่ออนุเคราะห์ในกาลแก่เหตุ แก่เหล่าบุคคลที่มีในสารคุณ รู้แจ้งในมรรคผลเป็นแก่นสาร
    และแก่ผู้เดินตามมาภายหลังอันประกอบด้วยความปรารถนาที่จะรีบเร่งแก่การบรรลุธรรมในกาล และแก้ข้อสงสัยแก่ผู้ที่ยังมีจิตใจไม่มั่นคง และยังไม่ทราบยังพระสัทธรรมอย่างแน่ชัด
    "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
    ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน คือ ภิกษุผู้เถระเป็นผู้มีศีล สำรวมในปาติโมกขสังวรถึงพร้อมด้วยอาจาระ และโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑ เป็นพหูสูต ทรงไว้ซึ่งสุตะ สั่งสมสุตะ เป็นผู้ได้สดับมาก ทรงจำไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฐิ ซึ่งธรรม
    ทั้งหลายอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ เป็นผู้มีวาจาไพเราะ พูดวาจาอ่อนหวาน ประกอบด้วยวาจาของชาวเมืองที่สละสลวย ไม่มีโทษ ให้รู้ความหมายได้ ๑ เป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ๑ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติอันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ฯ"
    ชี้ชัดที่สุดของ{พระสัพพัญญู}คือผู้รอบรู้ทุกสิ่ง
    ผู้ที่ไม่รู้จักไม่เข้าใจในศาสนา แต่อยากจะอภิปรายให้ความเห็นที่ไปที่มาของศาสนา เป็นคนพาลพาโลหาใช่เป็นบัณฑิต
    " องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ทรงเป็นพระสัพพัญญูคือเป็นผู้รอบรู้อย่างยิ่ง ทรงล่วงรู้ทั้งหมดแม้แต่เหตุเกิดของทุกศาสนา ทรงทราบที่มาและที่ไปจุดมุ่งหมายสูงสุดของทุกคำสอน รู้กรรม รู้เผ่า รู้พันธุ์ รู้ชาติ รู้ตำรา คำสั่งสอนของทุกศาสนาทั้งในที่ลับปกปิดสูญหายและที่แจ้งเปิดเผยไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งไปกว่ามายาคติที่สร้างภพสร้างชาติ ของผู้เป็นเจ้าลัทธิศาสนาชนชาตินั้นๆ "
    ถ้าไม่มีผู้เฝ้าฟังเฝ้าพิจารณาอยู่ ใครจักเป็นผู้บันทึก ใครเป็นผู้พิจารณาบทแห่งเนื้อความ อันจะส่งถึงคุณความหมาย ให้เราได้อ่านได้ศึกษาตามที่พระเถระท่านจารึกพระสูตรเล่าเรื่องราวต่างๆนี้เอาไว้
    ในทุกๆเรื่องที่มีการโต้ตอบ นั้นผู้มีปัญญาอันพระเถระเจ้า เช่นท่านพระอานนท์ และพระเถระรูปอื่นๆ เป็นต้น ย่อมต้องเฝ้าฟังและพิจารณาอย่างแยบคาย ทุกๆเสี้ยวของถ้อยคำอย่างสุขุมคัมภีร์ภาพ ในการนี้ เป็นการอวดภูมิปัญญาอวดเด่นอวดเก่งในทุกๆด้านของผู้มาท้าทายพระบรมมหาศาสดา ซึ่งด้วยพระปรีชาญานย่อมไม่ห้ามพระสงฆ์สาวกหรือชนอื่นใดว่าไม่ให้เฝ้าฟังด้วย พระองค์ไม่เคยปิดกั้นในกรณีนี้ และผู้มาโต้ถามโต้แย้งพระองค์พระองค์ก็ทรงให้เขาทำได้อย่างสุดความสามารถ และอย่าคิดว่ามีแต่มนุษย์ที่ได้ยินได้ฟังพระพุทธดำรัสตรัสพระวาจา เพราะพระองค์ทรงเปิดเผยให้ได้รู้จัก
    เรื่องท้าวสหัมบดีพรหม
    เรื่องของชฎิลสามพี่น้อง
    เรื่องของผกาพรหม
    เรื่องของนางจิญจมาณวิกา
    เรื่องขององคุลีมาล
    เรื่องของอาฬวกยักษ์
    เรื่องผจญมาร
    เรื่องของสัจจกะ นิครนถบุตร
    เรื่องของเวรัญชพราหมณ์
    เรื่องของนายธนิยะคนเลี้ยงโค
    เรื่องของพระมาลุงกยบุตรดำริถึงมิจฉาทิฏฐิ ๑๐
    และอีกฯลฯ
    ฉนั้นข้อที่ทรงตรัสห้ามไม่ให้ฟังไม่ให้พิจารณา ไม่ให้เงี่ยหูฟัง จึงตกไป ย่อมไม่ใช่พระพุทธประสงค์ที่ทรงวางไว้ ตามที่ทรงมอบหมายไว้
    ปฏิสัมภิทามรรค
    " ผู้ที่มีจิตไม่มั่นคง ไม่ทราบพระสัทธรรม
    มีความเลื่อมใสรวนเร ย่อมมีปัญญาบริบูรณ์
    ไม่ได้"
    ปฏิสัมภิทามรรคปกรณ์นี้นั้นสมบูรณ์ด้วยอรรถะ, พยัญชนะ, ลึกซึ้ง, มีอรรถลึกซึ้ง, ประกาศโลกุตระ, ประกอบด้วยสุญญตา
    "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น
    ได้กล่าวกะข้าพระองค์ทั้งหลายว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมย่อมทรงแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายอย่างนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย มาเถิด เธอทั้งหลายจงรู้ยิ่งธรรมทั้งปวง ครั้นรู้ยิ่งๆ ธรรมทั้งปวงแล้ว จงอยู่เถิด ดังนี้ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้เราทั้งหลายก็แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายอย่างนี้ว่า ดูกรท่านผู้มี
    อายุทั้งหลาย มาเถิด ท่านทั้งหลายจงรู้ยิ่งธรรมทั้งปวง ครั้นรู้ยิ่งๆ ธรรมทั้งปวงแล้ว จงอยู่เถิด ดังนี้ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ในธรรมเทศนาหรืออนุศาสนีนี้จะผิดแผกแตกต่างกันอย่างไรเล่า คือ ธรรมเทศนากับธรรมเทศนา หรืออนุศาสนีกับอนุศาสนี ของพระสมณโคดมหรือของพวกเรา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ครั้งนั้นแล
    "ข้าพระองค์ทั้งหลายไม่ได้ยินดี ไม่ได้คัดค้าน ภาษิตของอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น ครั้นแล้วลุกจากอาสนะหลีกไป ด้วยคิดว่า เราทั้งหลายจักรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค ฯ"
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกมีวาทะอย่างนี้ เธอทั้งหลายพึงถามอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ปัญหา ๑อุเทศ ๑ ไวยากรณ์ ๑ ปัญหา ๒ อุเทศ ๒ ไวยากรณ์ ๒ ปัญหา ๓ อุเทศ ๓ไวยากรณ์ ๓ ปัญหา ๔ อุเทศ ๔ ไวยากรณ์ ๔ ปัญหา ๕ อุเทศ ๕ ไวยากรณ์ ๕ปัญหา ๖ อุเทศ ๖ ไวยากรณ์ ๖ ปัญหา ๗ อุเทศ ๗ ไวยากรณ์ ๗ ปัญหา ๘อุเทศ ๘ ไวยากรณ์ ๘ ปัญหา ๙ อุเทศ ๙ ไวยากรณ์ ๙ ปัญหา ๑๐ อุเทศ ๑๐ไวยากรณ์ ๑๐ เป็นอย่างไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกถูกถามอย่างนี้แล้ว จักไม่ยังพยากรณ์ให้ถึงพร้อมได้ จักถึงความลำบากแม้อย่างยิ่ง
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะพวกอัญญเดียรย์ปริพาชกนั้นถูกถามในปัญหาอันมิใช่วิสัย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เราย่อมไม่เห็นบุคคลที่จะยังจิตให้ยินดีได้ด้วยการพยากรณ์ปัญหาเหล่านี้ เว้นจากตถาคตหรือสาวกตถาคต หรือผู้ที่ฟังจากสาวกของตถาคตนี้ "
    ที่ทรงดำรัสไม่ให้คัดค้านมีอยู่โดยหลักคือ {O}มหาจัตตารีสกสูตร{O}ซึ่งสำนักวัดนาป่าพงละเมิดไปจำนวนนับไม่ถ้วน
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการนี้แล จึงเป็นธรรมฝ่ายกุศล ๒๐ ฝ่ายอกุศล ๒๐ ชื่อ ธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะ อันเราให้เป็นไปแล้ว สมณะหรือ พราหมณ์ หรือเทวดา หรือมาร หรือพรหม หรือใครๆ ในโลกจะให้เป็นไปไม่ได้ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์ ผู้ใดผู้หนึ่งพึงสำคัญที่จะติเตียน คัดค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะนี้ การกล่าวก่อนและการกล่าวตามกัน ๑๐ ประการ อันชอบด้วยเหตุของสมณะหรือพราหมณ์ผู้นั้น ย่อมถึงฐานะน่าตำหนิในปัจจุบันเทียว ถ้าใครติเตียนสัมมาทิฐิ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีทิฐิผิด ถ้าใครติเตียนสัมมาสังกัปปะ เขาก็ต้องบูชาสรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีสังกัปปะผิด ถ้าใครติเตียนสัมมาวาจา เขาก็ต้อง
    บูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีวาจาผิด ถ้าใครติเตียนสัมมากัมมันตะเขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีการงานผิด ถ้าใครติเตียนสัมมาอาชีวะ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีอาชีวะผิด ถ้าใครติเตียนสัมมาวายามะ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีความพยายามผิดถ้าใครติเตียนสัมมาสติ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีสติผิด
    ถ้าใครติเตียนสัมมาสมาธิ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีสมาธิผิดถ้าใครติเตียนสัมมาญาณะ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีญาณผิดถ้าใครติเตียนสัมมาวิมุตติ เขาก็ต้องบูชา สรรเสริญท่านสมณพราหมณ์ผู้มีวิมุตติผิด ฯ
    อาณิสูตร
    พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว ตะโพนชื่ออานกะของพวกกษัตริย์ผู้มีพระนามว่าทสารหะได้มีแล้ว เมื่อตะโพนแตก พวกทสารหะได้ตอกลิ่มอื่นลงไป สมัยต่อมาโครงเก่าของตะโพนชื่ออานกะก็หายไป ยังเหลือแต่โครงลิ่ม แม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุในอนาคตกาล เมื่อเขากล่าวพระสูตรที่ตถาคตกล่าวแล้ว อันลึกมีอรรถอันลึก เป็นโลกุตตระ ประกอบด้วยสุญญตธรรม อยู่ จักไม่ปรารถนาฟังจักไม่เข้าไปตั้งจิตเพื่อรู้ และจักไม่สำคัญธรรมเหล่านั้น ว่าควรเล่าเรียน ควรศึกษาแต่ว่าเมื่อเขากล่าวพระสูตรอันนักปราชญ์รจนาไว้ อันนักปราชญ์ร้อยกรองไว้ มี
    อักษรอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตร เป็นของภายนอก เป็นสาวกภาษิต อยู่ จักปรารถนาฟังด้วยดี จักเงี่ยโสตลงสดับ จักเข้าไปตั้งไว้ซึ่งจิตเพื่อรู้ และจักสำคัญธรรมเหล่านั้น ว่าควรเรียน ควรศึกษา ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระสูตรเหล่านั้น ที่ตถาคตกล่าวแล้วอันลึก มีอรรถอันลึก เป็นโลกุตตระ ประกอบด้วยสุญญตธรรม จักอันตรธานฉันนั้นเหมือนกัน เพราะเหตุดังนี้นั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเขากล่าวพระสูตรที่ตถาคตกล่าวแล้ว อันลึก มีอรรถอันลึก เป็นโลกุตตระ ประกอบด้วยสุญญตธรรม อยู่ พวกเราจักฟังด้วยดี จักเงี่ยโสตลงสดับ จักเข้าไปตั้งไว้ซึ่งจิตเพื่อรู้ และจักสำคัญธรรมเหล่านั้นว่า ควรเรียน ควรศึกษา ดังนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้แหละ ฯ

    "อย่าคิดว่าจะรู้อรรถรู้ธรรมได้โดยง่าย ปริยัติยังไม่ดีไม่ผ่านไม่เอา ปฎิบัติก็ไม่ได้ไม่เป็น จะเอาปฎิเวธ คึกฤทธิ์และลิ่วล้อมาร๕สำนักวัดนาป่าพง"


    ขอบคุณจากใจ จะได้ไม่ต้องโปรโมทยาก และจะได้รู้สักทีว่าจริงหรือเท็จ ว่าทนต่อการพิสูจน์รึเปล่า
    โดยอุปมาแล้วหรือว่าแอบไปลอบผลิตและจำหน่ายทองคำปลอมๆ กับคึกฤทธิ์
    พอมีผู้มาตรวจสอบตำหนิว่าเป็นของปลอม
    ดิ้นกลัวเขาเอาไปเผาไปหลอมดูเนื้อทอง เพราะรู้ว่าเป็นของเก๊ก็เลยหวาดกลัวเขาจะรู้ทัน
    ♡♡♡♡♡อย่าลืมแค๊ปภาพและคาบข่าวไปบอกล่ะ! ทำตัวรับใช้ให้มันดีๆหน่อย♥♥♥
    ไหนๆก็ออกหน้าออกตาเดือดร้อนเป็นHeroคอยรับใช้แล้ว♡♡♡♡♡
    ฮ่า ฮ่า ฮ่า♥♥♥
    แด่ ทองปลอม ทองชุบ ทองลอก ลิ่วล้อสำนักวัดนาป่าพงทุกๆตัว
    แน่จริงก็ต้องกล้าพิสูจน์ นะพวกลิ่วล้อบริวารสาวกมาร ๕ สำนักพุทธวจน อย่าซุกหัวหลบ กล้าจริงก็ศึกษามาโต้ให้รู้เห็นว่าถูกหรือผิดนี่คืออริยะวินัยในพระพุทธศาสนา
    ถ้าไม่มีลับลมคมนัยอะไรคงกล้าหาญที่จะเผชิญ แต่นี่กลับเอาหน้าซุกแผ่นดินหนี นี่หรือคำสั่งสอนของศาสนาพุทธ หนี !หนี !หนี ! หัวซุกหัวซุน
    มีแต่ธรรมตัดแปะอวยสำนักชั่วๆ ก็เลวพอๆกันกับไอ้คึกฤทธิ์สารเลวนั่น
    ทองปลอมมันก็กลัวร้อนกลัวลอก เก่งแต่โพสแต่แชร์แต่ไม่มีธรรม บุคคลเหล่านี้ แม้แต่กระพี้ก็ไม่มีไม่ได้
    ไม่รู้เรื่องรู้ราว "อย่าขอหมอลำ" จะอับอายขายขี้หน้าเสียเปล่าๆ
    ในกลุ่มเพื่อนมีกี่ร้อยกี่พันที่รู้ธรรมน่ะ เชิญมาเสวนาและอเสวนากัน เอาให้แน่ๆนะจ๊ะ
    ถ้าไม่มีรู้ความสามารถ ครั้นแล้วจะมาบอกว่าตัวพี่นี้เป็นมารอย่างทศกัณฐ์ หรือพญามาร ไม่ได้น๊า!
    ตลกจริงๆสาวกมาร ๕ สำนักนี้ ช่วยประจานจ๊ะ! อย่าลืมตามมากดไลค์กันนะจ๊ะ!



    มิคสาลาสูตร
                สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
    อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล เวลาเช้า
    ท่านพระอานนท์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังที่อยู่ของมิคสาลาอุบาสิกา แล้ว
    นั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ครั้งนั้น มิคสาลาอุบาสิกาเข้าไปหาท่านพระอานนท์
    กราบไหว้แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ถามท่านพระอานนท์ว่า ข้าแต่
    ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้
    คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์
    จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนจะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร คือ
    บิดาของดิฉันชื่อปุราณะเป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล งดเว้นจาก
    เมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคทรง
    พยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็น
    ที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ (แต่) ยินดีด้วยภรรยา
    ของตน แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามี
    บุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาค
    ทรงแสดงแล้ว อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์
    คนหนึ่งไม่ประพฤติพรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชน
    จะพึงรู้ทั่วถึงได้อย่างไร ฯ


                 ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรง
    พยากรณ์ไว้อย่างนั้นแล ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์รับบิณฑบาตที่นิเวศน์ของ
    มิคสาลาอุบาสิกา ลุกจากอาสนะกลับไปแล้ว ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์กลับจาก
    บิณฑบาต ภายหลังภัต เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง
    ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทาน
    พระวโรกาส เวลาเช้า ข้าพระองค์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ของ
    อุบาสิกาชื่อมิคสาลา แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดถวาย ลำดับนั้น มิคสาลา-
    *อุบาสิกาเข้าไปหาข้าพระองค์ กราบไหว้แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
    ได้ถามข้าพระองค์ว่า ข้าแต่ท่านอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว
    อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติ
    พรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้
    อย่างไร คือ บิดาของดิฉันชื่อปุราณะ เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล
    งดเว้นจากเมถุนอันเป็นธรรมของชาวบ้าน ท่านกระทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาค
    ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล เข้าถึงชั้นดุสิต บุรุษชื่ออิสิทัตตะ ผู้เป็น
    ที่รักของบิดาของดิฉัน ไม่เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ แต่ยินดีด้วยภรรยาของตน
    แม้เขาทำกาละแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์ว่า เป็นสกทาคามีบุคคล
    เข้าถึงชั้นดุสิต ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ธรรมนี้ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว
    อันเป็นเหตุให้คนสองคน คือ คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ คนหนึ่งไม่ประพฤติ
    พรหมจรรย์ จักเป็นผู้มีคติเสมอกันในสัมปรายภพ อันวิญญูชนพึงรู้ทั่วถึงได้
    อย่างไร เมื่อมิคสาลาอุบาสิกากล่าวอย่างนี้แล้ว ข้าพระองค์ได้กล่าวกะมิคสาลา
    อุบาสิกาว่า ดูกรน้องหญิง ก็ข้อนี้พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ไว้อย่างนี้แล ฯ

                 พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาล
    ไม่ฉลาด เป็นคนบอด มีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    เป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนดรู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของบุคคล

    ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้มีอยู่ในโลก ๑๐ จำพวกเป็นไฉน

    ดูกรอานนท์บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ทุศีล และไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้น
    ไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอด
    แม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม
    ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม ไม่ถึงความเจริญ

    ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ทุศีลแต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อมย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม


    ดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของคนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรในสองคนนั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดีก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้น ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล
    เพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน

    ดูกรอานนท์ ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ทุศีลและรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความเป็นผู้ทุศีลของเขา ตามความเป็นจริง กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย ดูกรอานนท์บุคคลนี้ดีกว่าและประณีตกว่าบุคคลที่กล่าวข้างต้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้องบุคคลนี้ ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้ นอกจากตถาคตดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายอย่าได้เป็นผู้ชอบประมาณในบุคคลและอย่าได้ถือประมาณในบุคคล เพราะผู้ถือประมาณในบุคคลย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ

                 ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล แต่ไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง
    บุคคลนั้นไม่ทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่
    แทงตลอดแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อม
    ไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ

    ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล และรู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งศีลของเขา ตามความเป็นจริง
    บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอด
    ด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไป
    ทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม
    ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ

                 ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีราคะกล้า ทั้งไม่รู้ชัด
    ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขา ตามความ
    เป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความ
    เป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย
    เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียว
    ไม่ถึงความเจริญ

    ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีราคะกล้าแต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งราคะของเขาตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัยเมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียวไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเราพึงถือประมาณใน
    บุคคลได้ ฯ


                 ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ ทั้งไม่รู้ชัด
    ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขา
    ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วย
    ความเป็นพหูสูต ไม่แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิด
    ในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อม
    อย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ

    ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ แต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความโกรธของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟังกระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อมไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม ดูกรอานนท์ ฯลฯ เราหรือผู้ที่เหมือนเรา
    พึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ


                 ดูกรอานนท์ ก็บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ทั้งไม่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริง
    บุคคลนั้นไม่กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง ไม่กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต ไม่
    แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมไม่ได้วิมุตติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขา
    ย่อมไปทางเสื่อม ไม่ไปทางเจริญ ย่อมถึงความเสื่อมอย่างเดียว ไม่ถึงความเจริญ

    ดูกรอานนท์ ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติ อันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความ
    เป็นจริง บุคคลนั้นกระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต
    แทงตลอดด้วยดีแม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย เมื่อตายไป เขาย่อม
    ไปทางเจริญ ไม่ไปทางเสื่อม ย่อมถึงความเจริญอย่างเดียว ไม่ถึงความเสื่อม
    ดูกรอานนท์ พวกคนผู้ถือประมาณ ย่อมประมาณในเรื่องนั้นว่า ธรรมแม้ของ
    คนนี้ก็เหล่านั้นแหละ ธรรมแม้ของคนอื่นก็เหล่านั้นแหละ เพราะเหตุไรใน
    สองคนนั้น คนหนึ่งเลว คนหนึ่งดี ก็การประมาณของคนผู้ถือประมาณเหล่านั้น
    ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อทุกข์ ตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์
    ในสองคนนั้น บุคคลใดเป็นผู้ฟุ้งซ่าน แต่รู้ชัดซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อัน
    เป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งความฟุ้งซ่านของเขา ตามความเป็นจริง บุคคลนั้น
    กระทำกิจแม้ด้วยการฟัง กระทำกิจแม้ด้วยความเป็นพหูสูต แทงตลอดด้วยดี
    แม้ด้วยทิฐิ ย่อมได้วิมุติแม้อันเกิดในสมัย บุคคลนี้ดีกว่า และประณีตกว่าบุคคล
    ที่กล่าวข้างต้นโน้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะกระแสแห่งธรรมย่อมถูกต้อง
    บุคคลนี้ ใครเล่าจะพึงรู้เหตุนั้นได้นอกจากตถาคต ดูกรอานนท์ เพราะเหตุนั้น
    แหละ เธอทั้งหลายอย่าประมาณในบุคคล และอย่าได้ถือประมาณในบุคคล
    เพราะผู้ถือประมาณในบุคคล ย่อมทำลายคุณวิเศษของตน เราหรือผู้ที่เหมือน
    เราพึงถือประมาณในบุคคลได้ ฯ


                 ดูกรอานนท์ ก็มิคสาลาอุบาสิกาเป็นพาล ไม่ฉลาด เป็นคนบอด
    มีปัญญาทึบ เป็นอะไร และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอะไร ในญาณเครื่องกำหนด
    รู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของบุคคล ดูกรอานนท์ บุคคล ๑๐ จำพวกนี้แล
    มีปรากฏอยู่ในโลก ดูกรอานนท์ บุรุษชื่อปุราณะเป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นใด
    บุรุษชื่ออิสิทัตตะก็เป็นผู้ประกอบด้วยศีลเช่นนั้น บุรุษชื่อปุราณะจะได้รู้แม้คติของ
    บุรุษชื่ออิสิทัตตะก็หามิได้ บุรุษชื่ออิสิทัตตะเป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นใด
    บุรุษชื่อปุราณะก็เป็นผู้ประกอบด้วยปัญญาเช่นนั้นบุรุษชื่ออิสิทัตตะจะได้รู้แม้คติ ของ
    บุรุษชื่อปุราณะก็หามิได้ ดูกรอานนท์ คนทั้งสองนี้เลวกว่ากันด้วยองคคุณคน
    ละอย่าง ด้วยประการฉะนี้ ฯ
    จบสูตรที่ ๕



    ก็จงจำไว้ ว่าคนที่เขียนกระทู้นี้ตั้งกระทู้นี้ขึ้นมา เป็นผู้ต้องวิมุตติ และเป็นผู้ทุศีลตามกาล เป็นผู้มีราคะกล้าตามกาล เป็นผู้มักโกรธตามกาล เป็นผู้ฟุ้งซ่านตามกาล แต่เป็นผู้ต้องวิมุตติ

    อดีตชาติ เป็นผู้ครองปราสาทมุกสวรรค์ทั้งชั้นฟ้าก็ดี เป็นพระภิกษุในสมัยพุทธกาลชื่อว่า พระราชปาลก็ดี

    เป็นผู้รู้เห็นธรรมตามธรรมโดย ปฎิสัมภิทา เสกขภูมิ มีหน้าที่ ปกป้องรักษา อภยปริตร และ มหาสุบินชาดก ตามกาล ที่ถูกทำลายโดย คึกฤทธิ์แห่งสำนักวัดนาป่าพง


    จำเอาไว้ใส่กระโหลกเสีย พวกสำนักวัดนาป่าพงที่สร้าง สัทธรรมปฎิรูป ลบหลู่ดูหมิ่นครูบาอาจารย์


    ตายกันสนั่นหวั่นไหวทั้งสำนักเพราะโดนธาตุทัณฑ์หรือ ไพรีพินาศ จนต้องขายโปรตายด่วนผิดวิสัยมรณะ ๔ ตายตัวเหลืองให้ลูกศิษย์ ฮ่าๆ ยังไม่รู้ตัวกันอีก !!

    จงพังพินาศไปเสีย สัทธรรมปฎิรูป
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2016
  13. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ถูกทำลายจนแทบจะหมดสิ้นไปแล้วสินะ ฟางเส้นสุดท้าย ดูซิว่าจะดิ้นรนหนีพ้นจากผลกรรมที่ก่อไว้อย่างไร?
     
  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    หนีไม่พ้น
     
  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สติปัญญาน่ะมีไหม?
     
  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201

    [ame]https://youtu.be/GZiI7Tj1GYM[/ame]


    แต่คราวนี้ เปรียบเทียบกับพระปราโมทย์นะ

    ไม่พ้นที่วิสัชนาไว้ล่วงหน้า
     
  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    เตรียมเงิบ
     
  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บอกคืนพระไตรปิฏกและพระสงฆ์สาวกให้กับพุทธบริษัททั้งหลายก่อนดีกว่า จะมาบอกว่าสำนักวัดนาป่าพง นำโดยคึกฤทธิ์ได้ทำประโยชน์อันยิ่งใหญ่ คือสามารถทำให้คนมาสนใจพระไตรปิฏก

    ถึงโลกนี้ไม่คึกฤทธิ์ พุทธบริษัททั้งหลายฯ เขาก็ได้มีพลวปัจจัยได้ศึกษาและร่ำเรียนพระไตรปิฏกเหมือนเดิม และดีกว่าไปร่ำเรียนที่สำนักวัดนาป่าพงลวงโลกแห่งนี้อีกด้วย


    คิดว่าชาวพุทธที่อยู่ในประเทศนี้ ในโลกนี้ ในสหโลกธาตุอื่น และในภพภูมิอื่น จะไม่มีโอกาสและหาโอกาสเรียนพระไตรปิฏกด้วยตนเอง ไม่มีสติปัญญาคิดไตร่ตรองได้เองว่างั้นเถอะ

    คิดแบบนี้ก็เป็นเพียงพวกที่ยกตัวอวดตนหลงตนเอง จะหาดีที่ไหนได้ สอนมั่วๆสุ่มสี่สุ่มห้า

    มีศรัทธากับคึกฤทธิ์มากขนาดนั้น

    เอาเวลาไปซื้อซีดีมาฟังและบรรลุธรรมเป็นพระอนาคามีตายตัวเหลืองนิ่มตามไปเถิด

    เราขอสาธุ อนุโมทนาบุญฯนั้นด้วย ได้เป็นพระอนาคามีแล้ว บรรลุธรรมขั้นสูง ก็จงได้โปรดแสดงฤทธานุภาพมาโปรดสัตว์ทั้งโลกด้วยล่ะกัน

    ออ เห็นว่า วิสัชนามั่วนิ่ม ถ่มน้ำลายรดฟ้า ตกลงใส่หน้าเปื้อนดิน แล้วเลียเก็บคืนสู่ลำคออีกแล้ว
    การบรรลุธรรมไม่มีใครชี้ได้

    [ame]https://youtu.be/OJtuaN7a8Pw[/ame]

    สรุป จะเอายังไงกับชีวิตดี แมลงมุมสางใยพันตนเองอีกแล้ว


    ดูไว้ครับ มันวิสัชนา เพี้ยนกลับกันกับที่มันแสดงไว้ ที่คอยเที่ยวพยากรณ์คนอื่นๆ ฮ่าๆ ต้องมิตฉัตตะ ๑๐ เต็มสูบ
     
  19. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    พระเครื่องพระพุทธรูปเป็นเดรัจฉานวิชาเป็นมิจฉาทิฏฐิ แต่เมื่อ ถวายข้าวน้ำพระพุทธรูปหรือพระเครื่องเป็นสัมมาทิฏฐิเบื้องต้น


    ฮ่าๆ อยากจะหัวร่อ ไอ้ลูกศิษย์วัดนาโง่ๆ มันยังกราบกรานเอาใจใส่ไอ้คึกอย่างดี โดยที่ไม่รู้ว่ามันต้องอาบัติปาราชิกและต้องมิตฉัตตะ๑๐ ประการ มิหนำซ้ำยังทิฎฐิวิบัติอีกด้วย



    [ame]https://youtu.be/S92kTSs18lI[/ame]


    [ame]https://youtu.be/E0bk3ro98NQ[/ame]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    แถม คงพอผ่านตามาบ้างล่ะนะ

    อวชฺเช วชฺชมติโน
    วชฺเช อวชฺชทสฺสิโน
    มิจฺฉาทิฏฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ ทุคตึ ฯ

    วชฺชญฺจ วชฺชโต ญตฺวา
    อวชฺชญฺจ อวชฺชโต
    สมฺมาทิฏฺฐิสมาทานา
    สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ ฯ


    สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีความรู้ว่ามีโทษในธรรมที่หาโทษมิได้
    มีปกติเห็นว่าหาโทษมิได้ในธรรมที่มีโทษ
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ย่อมไปสู่ทุคติ”
    สัตว์ทั้งหลาย รู้ธรรมที่มีโทษโดยความเป็นธรรมมีโทษ
    รู้ธรรมที่หาโทษมิได้ โดยความเป็นธรรมหาโทษมิได้
    เป็นผู้ถือด้วยดีซึ่งสัมมาทิฏฐิ
    ย่อมไปสู่สุคติ.


    บทสวดและเพลงพาหุงแปล บทสวดพระคาถาชินบัญชร เพลงพระคาถาชินบัญชร รอยพระพุทธบาท พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุ ไม่มีความศักดิ์สิทธิ์เพราะพระพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติ เป็นคำแต่งใหม่และอีก ฯลฯ ถูกรวบรวมเป็นเดรัจฉานวิชาโดยสำนักวัดนาป่าพง
    และอีก ฯลฯ ที่สำนักวัดนาป่าพงตั้งใจและรวบรวมเป็นเดรัจฉานวิชา

    ------------------------------------------------------------------
    แต่เพลงแต่งใหม่ ที่พรรณนาเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ที่สำนักพุทธวจนนำออกสื่อเผยแพร่อย่างเป็นทางการ เป็นของดีของสำนัก พุทธวจน ไม่จัดเป็นเดรัจฉานวิชา ไม่เป็นคำแต่งใหม่ และถึงจะแต่งใหม่ ก็เป็นเรื่องที่ยอมรับได้
    พุทธวจน เพลงถึงฝั่งธรรม


    https://youtu.be/tTr3n97BzwM?list=PL...7gfuOZlcsSg5Kx

    พุทธวจน เพลงบัวบูชา
    https://youtu.be/poHDO_TS_MA?list=PL...7gfuOZlcsSg5Kx
    คอนเสิร์ต " ตามรอยบาทศาสดา พุทธวจน
    https://youtu.be/-EEWwHRtXrU?list=PL...7gfuOZlcsSg5Kx
    เพลง บัวบูชา-ถึงฝั่งธรรม(พุทธวจน)
    https://youtu.be/2i6G7tdKPH8?list=PL...7gfuOZlcsSg5Kx
    ช่างยอดเยี่ยมกระเทียมเจียวจริงๆ
    อย่าคิดว่าไม่มีใคร โหลดไว้นะครับ ลบไปก็เท่านั้น ! หนังสือเดรัจฉานวิชาก็แจก จะหนีกรรมที่ตนก่อไว้หรือครับ ทำได้เท่านี้หรือครับ
    รวมเดรัจฉานวิชา สำนักวัดนาป่าพง โดย คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล และสาวกแห่งสำนักวัดนาป่าพงนำเสนอแจกจ่าย
    ที่มาที่ไปของประเพณีผิด อันเกิดจากคำแต่งใหม่ 117
    40. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ อานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป 118
    41. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ การฟังเทศน์มหาชาติ 122
    พระสัมมาสัมพุทธะ นามว่าเมตเตยยะ โดยพุทธวจน 122
    พระสัมมาสัมพุทธะ นามว่าเมตเตยยะ โดยคำแต่งใหม่ 123
    42. ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับการกรวดน้ำอุทิศบุญ 126
    43. ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับการทำน้ำมนต์ 128
    44. ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับอานิสงส์ของการสวดมนต์ 130
    45. บทสวดมนต์ยอดนิยม เป็นคำแต่งใหม่ 133
    บทสวดสัพพมังคลคาถา เป็นคำแต่งใหม่ 133
    บทสวดพาหุง (พุทธชัยมังคลคาถา) เป็นคำแต่งใหม่ 134
    คาถาชินบัญชร เป็นคำแต่งใหม่ 135
    บทสวดอภยปริตร เป็นคำแต่งใหม่ 137
    บทสวดอาฏานาฏิยปริตร เป็นคำแต่งใหม่ 138
    บทสวดโพชฌงคปริตร เป็นคำแต่งใหม่ 139
    บทสวดชัยปริตร เป็นคำแต่งใหม่ 140
    บทสวดอุทิศบุญกุศล (ปัตติทานคาถา) เป็นคำแต่งใหม่ 141


    [ame]https://youtu.be/tTr3n97BzwM[/ame]


    เพลงแต่งใหม่ของสำนักวัดนาป่าพง ไม่เป็นเดรัจฉานวิชานะจ๊ะ แต่เพลงพาหุง ชินบัญชร ฯลฯเป็นเดรัจฉานวิชาหมดของสำนักวัดนาป่าพง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2016

แชร์หน้านี้

Loading...