ภูเขาไฟ ที่กำลังปะทุ !!!!!!!!!!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 27 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Activity
    Location: Ethiopia Afar region Mount Erta Ale

    Situation

    <CODE>A volcano that erupted earlier this month in remote northern Ethiopia killed five people and drove more than 2,000 from their homes, authorities said in an official report on its impact on Tuesday. The volcano, which rocked the arid Afar region bordering Eritrea and Djibouti for three days from Aug. 12, also killed about 1,370 camels and goats, the State Disaster Prevention and Food Security bureau said in an assessment of the damage. The eruption also opened a 10-km (6-mile) long crack in the ground and spewed lava some 300 metres (1,000 feet) in the air, scientists said this week. The Afar region is dotted with ancient salt mines and is for the most part inhabited by nomadic herders.

    Number of Deads: 2 persons
    Number of Evacuated persons: 2000 persons</CODE>
    <CODE></CODE>
    <CODE>ภูเขาไฟระเบิดที่เอธิโอเปีย ฆ่าคนไป 5 คนแล้ว สามวันนับจาก 12 สิงหาคม ยังทำให้ อูฐ กับ แพะ ตายไปอีก 1,370 ตัว การระเบิดนี้ทำให้เกิดแผ่นดินแยกไปเป็นระยะทาง 10km. แล้วพ่นลาวาขึ้นไปบนอากาศ 300 เมตร แป่ว</CODE>
    <CODE></CODE>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    ภูเขาไฟเอธิโอเปียระเบิดทำคน-สัตว์ตายจำนวนมาก

    <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์ </td> <td class="date" align="left" valign="baseline">22 สิงหาคม 2550 10:17 น.</td></tr></tbody></table> สำนักงานป้องกันภัยพิบัติและความมั่นคงด้านอาหารของเอธิโอเปีย รายงานเมื่อวานนี้ว่า ภูเขาไฟที่ระเบิดเมื่อต้นเดือนที่ผ่านมาในเขตอาฟาห์ทางเหนือ คร่าชีวิตประชาชนไป 5 คน และกว่า 2,000 คนต้องไร้ที่อยู่อาศัย การระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้ซึ่งตั้งอยู่บริเวณพรมแดนด้านที่ติดกับเอริเทรียและจิบูตียังทำให้อูฐและแพะตายไปประมาณ 1,370 ตัว รวมทั้งยังทำให้เกิดรอยแยกเป็นทางยาว 10 กิโลเมตรบนพื้นดิน และพ่นลาวาขึ้นสู่ท้องฟ้าเป็นทางยาว 300 เมตร
    (คอลัมน์:เกาะติดสถานการณ์)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">ผู้จัดการออนไลน์ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">22 ส.ค. 2550 <!--61.91.248.51--> </td></tr></tbody></table>
     
  3. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    หลายลูก
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Semeru, Java, Indonesia

    ERUPTIVE HISTORY

    Location:8.1S, 112.9E
    Elevation:12,057 feet (3,676 m)
    Last Updated:May 22, 2006</B>


    <CENTER><TABLE width="70%"><TBODY><TR><TD>
    <CENTER>[​IMG] </CENTER></TD></TR><TR><TD align=middle width="50%">
    The climb to the summit of Semeru is a 2-3 day walk. The mountain stages minor eruptions (like in the photograph) every 20 - 40 minutes. The photo was taken in late afternoon (August 2003) and simply involved walking from the campsite at the base of the climb to the summit around to the west so that the sun was at my back, then waiting for the eruption to start. The most striking aspect of the photo is the colour caused by the almost perpendicular rays of the sun hitting the cloud of dust and steam escaping a couple of thousand metres into the sky from the crater. The photo typifies the fact that Indonesia sits in the middle of the "Ring of Fire". The many spectacles presented by the landscapes, the festivals and the people of Indonesia never cease to truly amaze me.
    Photo and caption credit: Campbell Bridge (via Trek Earth at:http://www.trekearth.com/gallery/Asia/Indonesia/photo109462.htm)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><HR>
    Semeru, the highest volcano on Java, and one of its most active, lies at the southern end of a volcanic massif extending north to the Tengger caldera. The steep-sided volcano, also referred to as Mahameru (Great Mountain), rises abruptly to 3676 m above coastal plains to the south. Gunung Semeru was constructed south of the overlapping Ajek-ajek and Jambangan calderas. A line of lake-filled maars was constructed along a N-S trend cutting through the summit, and cinder cones and lava domes occupy the eastern and NE flanks. Summit topography is complicated by the shifting of craters from NW to SE. Frequent 19th and 20th century eruptions were dominated by small-to-moderate explosions from the summit crater, with occasional lava flows and larger explosive eruptions accompanied by pyroclastic flows that have reached the lower flanks of the volcano. Semeru has been in almost continuous eruption since 1967. More than 500 people have been killed by Semeru's eruptions during the last 30 years.

    <CENTER>Semeru erupting beyond Mt. Bromo.

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    Photo series courtesy of and copyrighted by Leslie Sonnenschein. Photos taken October, 1996. <HR>

    [​IMG]
    Semeru is one of many volcanoes in the area.
    Graphic courtesy of Darwin VAAC.
    <HR>

    The eruptions are commonly moderate to moderately large (VEI=2-3) and some of the eruptions produced pyroclastic flows and/or lava flows. Ten of these eruptions have been fatal. Mudflows and secondary mudflows have been the most dangerous, killing nearly 600 people during the 1909 and 1981 eruptions. The most recent eruption of Semeru began in 1967 and has continued to the present. Vulcanian-type eruptions are common at Semeru and the generated pyroclastic flows, lava flows, and domes. Nearly 500 people have been killed by the current eruption. In August of 1994, explosions were occurring at intervals of 15-20 minutes. In February of 1995, pyroclastic avalanches travelled up to 0.6 mile (1 km) from the summit.
    [​IMG]
    A dispersed ash plume from the above eruption lingers around the mountain. [​IMG]
    Another view across the caldera to Semeru.

    </CENTER>
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Super Volcano

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แต่ละภาพแจ่มมากครับ สวยงามเลยครับ แต่ขอให้เป็นแค่ภาพถ่ายครับ อย่าให้เกิดขึ้นในเมืองไทยเลยครับ
     
  9. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    เกี่ยวกับสเกลที่ใช้วัดความสามารถในการทำลายของภูเขาไฟ
    มีระดับ 1-8 (ปอมเปอีที่หายไปอยู่ที่ 5 VEI ปินาตุโบระดับ 6 VEI)
    http://en.wikipedia.org/wiki/Volcanic_Explosivity_Index


    super ภูเขาไฟที่อยู่ใกล้เราก็ Toba
    อยู่ระดับ 8 VEI กับ Mount_Tambora อยู่ระดับ 7 VEI
    http://en.wikipedia.org/wiki/Lake_Toba
    http://en.wikipedia.org/wiki/Mount_Tambora


    เรื่องของภูเขาไฟมันระเบิดอยู่แล้วแต่ไม่รู้วันไหน ไม่มีใครรู้
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธรณีวิทยาและความร้อนใต้ภิภพในประเทศไอซ์แลนด์

    ธรณีวิทยาและที่ตั้งธรณีวิทยาแปรสัณฐาน


    ไอซ์แลนด์ วางตัวคร่อม อยู่ระหว่างแอตแลนติกกลาง และมหาสมุทรกลาง ของโลกเป็นประเทศที่มีพื้นที่<wbr>กว้างใหญ่มากที่สุด ในน่านน้ำกลาง ไอซ์แลนด์ถูกพัฒนามา ตามแนวสันเขาของแอตแลนติกกลาง เนื่องจากเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ระหว่างสันเขาใต้น้ำ จากตะวันตกเฉียงใต้และสันเขา Kolbeinseyสู่ทาง<wbr>เหนือ และได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ 20-25 ล้านปีที่แล้ว<wbr>และ<wbr>หลอม<wbr>รวม<wbr>เป็น พื้นที่<wbr>แผ่นดิน<wbr>ใหญ่<wbr>หลังจาก<wbr>การ<wbr>เกิด<wbr>การ<wbr>ประทุ ของภูเขาไฟในไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์<wbr>เกิดการ<wbr>ปะทุ<wbr>ของภูเขาไฟ<wbr>มากมายหลายครั้ง จนเกิดกลายเป็นเขตภูมิภาค บนโลกเราใบนี้ และพื้นที่ก็ค่อยๆขยาย เพราะ<wbr>เกิด<wbr>การ<wbr>แตก<wbr>และ<wbr>การ<wbr>งอก<wbr>ของ<wbr>เปลือกโลก ผ่านภูเขาไฟ ในเขตของภูเขาไฟ <wbr>ซึ่งในแง่ของกรอบโครงสร้าง<wbr>ของที่ราบทำใหเกิดอาณาเขต<wbr>ระหว่างที่ราบยูโรเชี่ยนและ<wbr>ที่ราบทางอเมริกาเหนือ กล่าวถึงทางตะวันตกของไอซ์แลนด์<wbr>จะ<wbr>เป็น<wbr>เขต<wbr>ของ<wbr>ภูเขาไฟ ซึ่งจะตั้งอยู่ในที่ราบสูงของอเมริกาเหนือ และที่ราบสูงของยูโรเชียน ด้วย<wbr>หิน<wbr>ที่<wbr>เก่า<wbr>แก่<wbr>ที่สุด ทางตะวันตกเฉียงเหนือและ ทางตะวันออกของไอซ์แลนด์ หาก<wbr>จะ<wbr>พูด<wbr>ให้<wbr>ซับซ้อน<wbr>ขึ้นรูปของหิน จะคล้ายๆกับหินในยุคของ ทางตะวันตกของไอซ์แลนด์ และศูนย์กลาง ของทางเหนือของไอซ์แลนด์ เนื่องจากการเคลื่อนตัวของจุดความร้อนและเขตภูเขาไฟ อัตราการแผ่ขยายสามารถคำนวณได้เท่ากับ 1 เซนติเมตรห่างออกไปในทุกๆ 1
    ธรณีวิทยาและประวัติศาสตร์ทางธรณีวิทยา
    ไอซ์แลนด์ถูกสร้างขึ้น เกือบเป็นเหมือนลักษณะเฉพาะ ของหินภูเขาไฟ แต่เป็นหินที่ดีกว่าหินภูเขาไฟ ฟินซิลิซิก และหินชั้นกลาง กล่าวคือ หินจำพวก หินไรโอไลต์, หินเดไซต์, หินเดไซต์ และหินแอนดิไซต์ หินเหล่านี้เป็นส่วนประกอบประมาณ 10% และเกิดจากการตกตะกอนอีก 10%

    การสร้างหินหลักๆของไอซ์แลนด์สามารถแยกการเกิดชั้นหินได้ 4 แบบหลักๆ
    1.การเกิดของที่ราบหินภูเขาไฟแบบเทอร์เชียรี่ ชั้นสูง
    2.การเกิดของหินไพลโอซินชั้นสูงและหินภูเขาไฟสีเทาชั้นต่ำของหินไฟลสโตซีน
    3.การเกิดของหินไพลสโตซีนพาลาโกไนต์โมเบอร์ก (ไฮลโลคลาสไท) และ
    4.การเกิดแบบหลังธารน้ำแข็ง ซึ่งจะอยู่ภายในลาวาภายหลังธารน้ำแข็ง รวมไปถึงการตกตะกอน จนกระทั่งสารตกตะกอนน้ำแข็ง จากการแยกตัวของการปกคลุมของน้ำแข็งและทะเล ฟลูเวิล และ การตกตะกอนของลาคัสทริน และดินของธารน้ำแข็งยุคล่าสุด และในสมัยโฮโลเซีย

    การก่อตัวของภูเขาไฟเทอร์เชียรี่ ประกอบกันเป็นทางตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนหลักของเกาะทางตะวันตกของไอซ์แลนด์ และส่วนตะวันตก ของทางเหนือของไอซ์แลนด์ ทั้งหมดรวมกันมีขนาดประมาณ ครึ่งหนึ่งของประเทศ ทางตอนตะวันออกของไอซ์แลนด์ เกิดภูเขาไฟ ที่มีลาวาไหลปกคลุม ก่อตัวประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ของลาวาที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเล ซึ่งมีระดับชั้นหินหนาประมาณ 10,000 เมตร ซิลิซิก และ หินชั้นกลางรวมทั้งเศษหินทราย เป็นส่วนประกอบที่เหลือ พนักส่วนใหญ่เป็นแบบธรรมดาและ หินเกรบโบ รวมไปถึงหินแกรนิตโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพังทลายของภูเขาไฟส่วนกลาง ชั้นหินที่พ่นลาวา และหินอิกนิมไบรต์ สามารถพบได้ บริเวณภูเขาไฟส่วนกลาง

    หินที่เก่าแก่ที่สุดที่ อยู่เหนือระดับน้ำทะเลมีอายุประมาณ 14 ล้านปี ดังนั้น ภูเขาไฟที่เก่าแก่ที่สุดจะไม่มีอายุมากกว่า ไมโอซีนกลาง และจะอายุน้อยกว่าภูเขาไฟในเกาะอังกฤษ กรีนแลนด์และ Faroes ภูเขาไฟเหล่านี้ มีความสอดคล้องทางทฏษฎีของการขยายของพื้นผิวมหาสมุทร

    ลาวาเม็ดเล็กๆ ที่ปะทุออกมาจากภูเขาไฟเทอร์เชียรี่ ในไอซ์แลนด์ ปกติจะประกอบไปด้วยแร่ควอทซ์ เช่น หินคริสตัล หินแจสเปอร์ และหินชัลเซโดนี หรือ ซีโอไลต์ ซีโอไลต์พบได้จาก Teigarhorn ใน Berufjorour สามารถพบได้ตามพิพิธภัณฑ์ต่างๆทั่วโลก แร่Helgustaoir ใน Reydarfjorour ที่ยังเหลือ เป็นแหล่งที่สำคัญของโลก ของแร่ประเภท ออพติคอล แคลไซต์ ซึ่งเป็นเหมือนแหล่งเดียวในไอซ์แลนด์ และมีมาเป็นศตวรรษแล้ว

    การแทรกเข้าของภูเขาไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางไอซ์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นการตกตะกอนแบบที่ราบ และจะมีพื้นผิวชั้นที่มีขนาดบางของลิกไนต์ สายพันธ์สามารถพบได้รวมทั้ง บีช เมเปิ้ล ไวน์ ลิริโอเดนดรอน และ คอนิเฟอร์ (พืชพวกสน) ป่าผสมของพืชพวกคอนิเฟอร์ และต้นไม้พรรณพืชในเขตอบอุ่นเป็นดัชนี บ่งชี้ว่าภูมิอากาศมีลักษณะอบอุ่น ป่าในเขตอบอุ่นนี้ค่อยๆหายไปในสมัยไพโอซีนเมื่อภูมิอากาศเริ่มเย็นขึ้น และเกิดการตกตะกอนของธารน้ำแข็งเป็นครั้งแรก ดังนั้น จึงกลายเป็น ชั้นบางๆของลิกไนต์ซึ่งสามารถเป็นเชื้อเพลิงได้ ถึงแม้ว่าในบางพื้นที่จะมีจำนวนไม่มากนักก็ตาม

    หินไพลอีสโตซีนประกอบขึ้นส่วนใหญ่ โดยขยายจากตะวันตกเฉียงใต้ ไปตะวันออกเฉียงเหนือ และในเขตระหว่างเขตภูเขาไฟที่ราบเทอร์เชียรี่ และยังปรากฏในคาบสมุทร Tjornes Snaeffellsnes และ Skagi หินไฟลอีสโตซีน ถูกแบ่งออกเป็น 2 การเกิดและจำกัด ระหว่างกันซึ่งเเคยเป็นสนามแม่เหล็ก ที่ผลักกันอยู่ เมื่อประมาณ 700,000 ปีที่แล้ว

    ในการเกิดไฟลอีสโตซีน มีรูปแบบ 3 อย่าง

    ภูเขาไฟแบบระหว่างชั้นลาวา ซึ่งปกติจะเป็นสีเทา และพื้นผิวจะหยาบกว่าเทอร์เชียรี่ การเกิดภูเขาไฟสีเทา จะเป็นสถานที่อยู่ระหว่างชั้นภูเขาไฟ ซึ่งส่วนใหญ่จะขยายออก บริเวณขอบๆของพื้นที่ภูเขาไฟแบบเทอร์เชียรี่ และอยู่ในส่วนกลางของทางใต้ของไอซ์แลนด์
    ชั้นใต้เกิดจากลาวาแบบหมอน เบรคเชียส และทัพสีน้ำตาล รู้จักกันในชื่อ พาลาโกไนต์ หรือ (โมเบิร์ก) ซึ่งเต็มไปด้วยไฮเดรต ในชั้นภูเขาไฟ การแบ่งตัวออกซิลิซิกและหินชั้นกลางในการเกิดไพลอีสโตซีน มีความคล้ายคลึงกับเทอร์เชียร์รี่ ส่วนหลักของมวลเขาสูงไรโอลิติคือเขต Torfajokull และ Kerlingaefjoll
    ธารน้ำแข็ง ธารน้ำ ทะเลสาบและการตกตะกอนของทะเล เป็นชั้นกลางระหว่างการไหลของลาวา ส่วนที่หนาที่สุดของชั้นทะเลจะพบได้ที่ Tjornes เพนินซูลาทางตอนเหนือของไอซ์แลนด์ ซึ่งเป็นสถานที่ ซึ่งเกิดการทับถมและ สะสมของพืชประเภทหอยกว่า 3 ล้านปีที่ผ่านมา หลังจากการเปิดช่องแคบเบริ่ง



    <table class="mainAreaTable" id="mainArticleAreaTable" align="center" bgcolor="#f6f7f9" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="mainarea" id="mainArticleArea3" height="100%" valign="top" width="100%"><table class="tabArticleImageRight" id="articleImageRightTable1159" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="ingress" id="articleImageRightContent"><table class="tabArticleImageRightContent" id="textArea1159" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="tdArticleImageRightContent" align="left">การศึกษาเรื่องหิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หินที่เกิดจากการตกตะกอน เป็นดัชนีบ่งชี้เกี่ยวกับยุคหลังไพลโอซีน ที่สิบสี่และ ยุคธารน้ำแข็งไลอีสโตซีน ระยะเวลานั้นประเทศเกือบทั้งหมดถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็ง ต้นไม้ และพืชพวกสนหายไปหมดระหว่างช่วงก่อนไพลโอซีน แต่พืชพวกเบิรช์ ต้นหลิวและ เถ้าถ่านภูเขายังคงหลงเหลือในยุคน้ำแข็ง
    ช่วงระยะเวลาเวลาของยุคธารน้ำแข็งไพลอีสโตซีน จะเป็นลักษณะของน้ำแข็งขนาดกว้างใหญ่ ปกคลุมภูเขาไฟอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่ จะเกิดการละลายของน้ำแข็งภายใต้ผิวน้ำ และด้วยภายใต้เงื่อนไขนั้น จะคล้ายกับส่วนที่อยู่ใต้น้ำของ World Rift System ภูเขาไฟที่ถูกสร้างขึ้น ภายใต้ธารน้ำแข็งย่อย ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็นสองแบบ เป็นแบบภูเขาไฟ แบบสัน และภูเขาไฟรูปโต๊ะ ภูเขาไฟแบบสันจะมีลักษณะสูงชัน และจะมีลักษณะ ขอบฟันเลื่อนยาวไปตามแนวเส้นคู่ขนาน ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ไปสู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ในทางใต้ของไอซ์แลนด์ และจากทางเหนือ ลงใต้ ทางผั่งด้านเหนือของไอซ์แลนด์ ภูเขารูปโต๊ะจะแยกไปแบบเดี่ยวๆ มีลักษณะเกือบเป็นวงกลม ไปจนถึงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดย่อย และจะประกอบไปด้วยภูเขาไฟแบบโล่ (Shield Volcano) วางตัวอยู่บนชั้นหินลาวา และหินเถ้าพาลาโกไนต์ที่พ่นออกมาจากภูเขาไฟ ลาวาแบบโล่ จะถูกก่อตัวโดยสาอากาศย่อยที่ไหลออกมาจากลาวาเมื่อการก่อตัว
    มีขนาดสูง จนยื่นออกไปได้ก็จะทะลุส่วนที่น้ำแข็งปกคลุมไว้ ตัวอย่างที่เห็นได้เด่นชัด ในภูเขารูปโต๊ะคือ ภูเขา Heroubreio (1,682 เมตร)
    อยู่ทางตอนเหนือของ Vatnajokull


    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table><table><tbody><tr><td height="5">
    </td></tr></tbody></table></td></tr><!-- Close out the page --><!-- --><!-- Start the table to display the input form --><tr><td class="mainarea" id="mainArticleArea4" height="100%" valign="top" width="100%"><table class="tabArticleImageRight" id="articleImageRightTable1160" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="ingress" id="articleImageRightContent"><table class="tabArticleImageRightContent" id="textArea1160" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="tdArticleImageRightContent" align="left">น้ำพุร้อน - ความร้อนจากใต้พิภพ
    ไอซ์แลนด์เต็มไปด้วยน้ำพุร้อน ซึ่งมีความร้อนสูงกว่าน้ำพุร้อนในประเทศอื่นๆ ในโลก และอุณหภูมิที่สูงเช่นนี้ จะเกิดเฉพาะจุด น้ำพุร้อนเหล่านี้จะก่อตัวขึ้นจากช่องเปิดของไอน้ำ บ่อโคลน และซัลเฟอร์ของหยาดน้ำฟ้า


    เขตพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูง
    เขตพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงคือที่ธารน้ำแข็ง Torfajokull ทางตะวันออกของ Hekla และทะเลสาป Grimsvotn ในบริเวณธารน้ำแข็ง
    Vatnajokull มีขนาดไกล้เคียงกับ Hengill (ใกล้กับ Reykjavik) ซึ่งปัจจุบันได้ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการทำเป็นน้ำร้อนสำหรับเมืองหลวง
    ภูเขา Kerlingarfjoll, Namafjall, ภูเขา Kverkfjoll และพื้นที่ Krisuvik พลังงานทั้งหมดที่ถูกขับออกมาจากธารน้ำแข็ง Torfajokull ซึ่งนับว่า
    เป็นแหล่งใหญ่ที่สุด ซึ่งมีการประเมินว่าน่าจะมีพลังงานประมาณ 1,500 เมกะวัตต์ เขตพื้นที่บางแห่งมีอุณหภูมิสูงและเกิดกระบวนการ
    สะสมของฟัลเฟอร์ด้วย

    น้ำพุร้อน
    น้ำพุร้อนสามารถพบได้โดยทั่วไปทั่วไอซ์แลนด์ แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ทางเขตภูเขาไฟทางตะวันออก บริเวณเขตพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า
    250 องศาจะเกิดน้ำพุร้อนทั้งหมดประมาณ 800 แห่ง อุณหภูมิเฉลี่ยของน้ำจะอยู่ที่ประมาณ 75 องศาเซลเซียส หรือ 167 องศาฟาเรนไฮซ์
    น้ำพุร้อนที่ใหญ่ที่สุดในกรีนแลนด์คือ Delidartunguhver ซึ่งปะทุออกมา 150 ลิตร หรือ 40 แกลลอน / วินาที น้ำพุร้อนบางแห่งพ่นออกมาหรือ
    เราเรียกว่า กีเซอร์ กีเซอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือกีเซอร์ที่ Haukadalur อยู่ทางตอนใต้ของไอซ์แลนด์ ซึ่งเป็นกีเซอร์ของโลกเลยก็ว่าได้ มีขนาดความสูงที่พ่นออกมาประมาณ 180 ฟุต แต่ปีหลังๆที่ผ่านมาการพ่นจะมีจำกัดถึงอาจจะหยุดพ่นไปสักระยะหนึ่ง แต่น้ำพุร้อนก็ได้พ่นออกมาอีกครั้งหลังจากเกิดแผ่นดินไหว ในช่วงใกล้ๆ ฤดูร้อนปี ค.ศ. 2000 กีเซอร์แห่งใหม่อยู่ในเขตที่ชื่อว่า Strokkur ซึ่งจะพ่นออกมาทุกๆ 2-3 นาที และจะปล่อยสารคาร์ไดออกไซด์ ที่จะพบได้จามจุดต่างๆ ส่วนใหญ่คือบริเวณ Snaefellsnes แต่ปัจจุบันก็ยังใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ ตั้งแต่ภูเขาไฟ Helka เกิดการปะทุขึ้น
    ครั้งสุดท้าย น้ำพุร้อนพ่นขึ้นภายใต้ลาวาใหม่และเรายังพบว่ามีส่วนประกอบของคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย


    http://www.oknation.net/blog/NicholasSparks/2007/08/23/entry-3
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  11. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=585 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>บาร์เรน-กรากะตัวภูเขาไฟใกล้ไทยกำลังตื่น!</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG] [​IMG] หลังจากเกิดแผ่นดินไหวครั้งประวัติศาสตร์ที่เขย่าโลกใบนี้ด้วยความรุนแรงขนาด 9.3 ริกเตอร์ และก่อให้เกิดคลื่นสึนามิคร่าชีวิตผู้คนไปนับแสน เมื่อเช้าวันที่ 26 ธันวาคม2547



    อาจไม่ใช่ภัยธรรมชาติร้ายแรงที่สุดที่มนุษย์โลกต้องเผชิญ...หากเป็นสัญญาณเริ่มต้นที่นำไปสู่หายนะของโลกครั้งใหม่ที่ยากเกินจะคาดเดา!
    นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกตั้งข้อสังเกตว่าหลังแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ผ่านมา อาจมีส่วนทำให้การเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลกมีความถี่เพิ่มขึ้น ขณะที่ใต้พิภพยังคุกรุ่นไปด้วยธารหินหนืดหลอมละลายจากแผ่นเปลือกโลกที่มุดลงใต้เปลือกโลก อาจจะพร้อมใจกันปลดปล่อยพลังงานความร้อนที่รุนแรงกว่าระเบิดนิวเคลียร์หลายพันเท่าออกมาตามปล่องภูเขาไฟที่เคยหลับไหลมาหลายร้อยปีได้

    สแตนกูสบี ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวและสึนามิจากศูนย์ Pacifle Disaster Warning Center (PDC) ประเทศสหรัฐอเมริกาเชื่อว่าการเกิดแผ่นดินไหวที่มีความถี่สูงมากเช่นปัจจุบัน เป็นอาการปกติของการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภูเขาไฟที่ใกล้กับจุดที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม2547
    ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวและสึนามิฯหมายถึงภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะบาร์เรนนั่นเอง ซึ่งกำลังปลดปล่อยธารลาวาและควันพิษที่เกิดจากเศษหินหลอมละลายพวยพุ่งอยู่กลางทะเลอันดามัน หากรอบๆ ภูเขาไฟใต้น้ำลูกนี้มีตะกอนสะสมอยู่เป็นปริมาณมาก การระเบิดของภูเขาไฟอย่างรุนแรงหรือเกิดแผ่นดินไหว อาจทำให้ตะกอนปริมาณมหาศาลเหล่านี้พังทลายลงอย่างรวดเร็วและก่อให้เกิดคลื่นสึนามิได้
    เฉกเช่นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี2541 เมื่อแผ่นดินไหวขนาด6.8 ริคเตอร์ทำให้เกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเลทางตอนเหนือของเกาะปาปัวนิวกินี เกิดคลื่นสึนามิสูง 7-10 เมตรซัดถล่มชายฝั่งทำให้ชาวปาปัวนิวกีนีเสียชีวิตเกือบ 3,000 คน
    ส่วน"บาร์เรน" เป็น1 ใน 3 ของภูเขาไฟที่หน่วยงานเกี่ยวกับการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติของไทยกำลังจับตาดูอยู่ ได้แก่ภูเขาไฟบาร์เรน ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย และภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บริเวณแหลมญวน เพราะภูเขาไฟระเบิดแต่ละครั้งความรุนแรงไม่ได้อยู่ที่ธารลาวาร้อน (แมกม่า) หรือหินเดือดหลอมละลายใต้พิภพ แต่อาจเป็นอันตรายจากควันพิษ (ไพโรคลาสติก) หรือคลื่นสึนามิก็ได้
    สัญลักษณ์รูปสามเหลี่ยมสีเหลือง2 จุดบนแผนที่เหนือเกาะนิโคบาร์แทนที่ตั้งภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรน ปรากฏอยู่บนโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ของ "วรวุฒิ ตันติวนิช" ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี ซึ่งระบุว่าภูเขาไฟลูกนี้เคยระเบิดมาแล้วเมื่อครั้งอดีต แต่เป็นภูเขาไฟขนาดเล็กไม่ค่อยมีความสำคัญในสายตาของนักวิทยาศาสตร์โลก แต่บังเอิญว่าเป็นภูเขาไฟที่อยู่ใกล้ประเทศไทย
    วรวุฒิอธิบายว่า ภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรนตั้งอยู่กลางทะเลอันดามัน อยู่ห่างจากหมู่เกาะนิโคบาร์ ประเทศอินโดนีเซีย ไปทางทิศตะวันออก มีประวัติการปะทุและระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้เป็นระยะๆ แต่ไม่รุนแรง ล่าสุดปี 2538 มีรายงานการปะทุและมีรายงานการพ่นลาวาออกมา
    อย่างไรก็ตามวรวุฒิ บอกว่า บนเกาะบาร์เรนไม่มีคนอยู่อาศัย จึงไม่ค่อยมีข้อมูลเกี่ยวกับการระเบิดมากเท่าไรนัก แต่ภูเขาไฟลูกนี้ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กังวลว่าหากเกิดการระเบิดอาจจะเกิดสึนามิ ซึ่งประเทศไทยอาจได้รับผลกระทบจากภูเขาไฟลูกนี้ เพราะอยู่ใกล้ประเทศไทยมากกว่าภูเขาไฟลูกอื่นๆ
    "โดยส่วนตัวผมมองว่าภูเขาไฟลูกนี้ อาจจะระเบิดไม่รุนแรงเหมือนภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ที่มีความสูงใหญ่และมีพลังมากจนยอดปล่องพังทลายลงมาเมื่อครั้งระเบิดใหญ่ปี 2426 มีผู้เสียชีวิตนับหมื่นคน และเกิดคลื่นสึนามิ ปัจจุบันภูเขาไฟกรากะตัวกำลังฟอร์มตัวขึ้นอีกครั้ง จากการพ่นหมอกควันที่ประกอบด้วยหินขึ้นมาปกคลุมปากปล่องจนมีขนาดเกือบเท่าของเดิมแล้ว และอาจจะระเบิดรุนแรงอีกครั้งก็ได้"
    ทั้งนี้ภูเขาไฟกรากะตัว ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวภูเขาไฟอยู่ระหว่างเกาะสุมาตรากับเกาะชวา เคยเกิดระเบิดเล็กๆน้อยๆ หลายครั้ง แต่เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ในปี2224 และอีก200 ปีต่อมา วันที่ 20 พฤษภาคม 2426 ก็เกิดระเบิดเสียงดังกึกก้อง ปล่อยเถ้าถ่านควันไฟออกมาต่อเนื่องจนถึงวันที่ 26 สิงหาคมปีเดียวกันเกิดระเบิดรุนแรงอีกครั้งจนถึงรุ่งเช้าของอีกวัน
    ...เสียงกัมปนาทจากปล่องภูเขาไฟดังขึ้นอีกครั้ง ทำให้ยอดปล่องภูเขาไฟพังทลายลงมา ธารลาวาสีแดงเพลิงไหลท่วมหมู่บ้าน 163 แห่ง มีผู้เสียชีวิตราวๆ 36,000 คน
    "หากภูเขาไฟที่เกาะบาร์เรนระเบิดรุนแรงจนทำให้ภูเขาไฟถล่ม และมีบางส่วนพังทลายลงมาอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิสูง 1-2 เมตรเกิดขึ้นที่ชายฝั่งไทย แม้ว่าคลื่นจะดูไม่สูงมาก แต่อาจสร้างความเสียหายได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังเฝ้าระวังการระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้อยู่" วรวุฒิบอก
    อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2550 มีรายงานการปะทุและระเบิดของภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรนที่อยู่ห่างจากเกาะนิโคบาร์ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 135 กิโลเมตร ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านภูเขาไฟระเบิดจากประเทศอินเดีย ลงไปสำรวจร่องรอยการระเบิดครั้งใหม่ในรอบ 10 ปี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ที่ผ่านมา พบลาวาและหินระเบิดพุ่งออกมาอย่างรุนแรงจากปล่องภูเขาไฟ มีอุณหภูมิตั้งแต่ 900 ถึงมากกว่า 1,200 องศาเซลเซียส พร้อมด้วยฝุ่นหินของลาวาที่ร้อนแรงพุ่งออกมาจากปล่องสูงถึง 100 เมตร นานกว่า 15-30 วินาที หมอกควันที่ระเบิดออกมา มีรูปร่างคล้ายดอกเห็ดใหญ่ๆ ที่มีทิศทางพุ่งไปทางเหนือ
    นอกจากนี้วรวุฒิ ยังระบุถึง ภูเขาไฟอีกลูกที่อาจก่อให้เกิดคลื่นสึนามิชายฝั่งอ่าวไทย นั่นคือ ภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ตรงบริเวณปลายแหลมญวน หากระเบิดขึ้นมาอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้ แต่ตอนนี้ยังสบายใจได้ เพราะภูเขาไฟลูกนี้ยังสงบเงียบอยู่ แต่ขณะเดียวกันภูเขาไฟกรากะตัวที่ยังคุกรุ่นอยู่ด้วย ยังเป็นสิ่งที่น่ากังวล เพราะหากภูเขาไฟลูกนี้ระเบิดอีกครั้งอาจทำให้เกิดสึนามิได้เช่นกัน
    "ภูเขาไฟใต้ทะเลอาจมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาตลอดเวลา และอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้ ขณะที่ภูเขาไฟรอบๆ ประเทศไทยก็ปล่อยเถ้าถ่านที่เป็นพิษปกคลุมพื้นที่ 3-4 จังหวัดภาคใต้ของไทย"ดร.สมิทธธรรมสโรช ประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ย้ำถึงภัยพิบัติจากภูเขาไฟระเบิด
    แม้ว่าภูเขาไฟของไทยทั้ง8 แห่งจะดับสนิทหมดแล้ว แต่ปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญหน้ากับภูเขาไฟที่อาจระเบิดได้ในทุกนาที รวมถึงภูเขาไฟใต้ท้องทะเลที่อยู่โดยรอบประเทศไทยด้วย
    ดร.สมิทธเล่าให้ฟังว่า มีนักสำรวจทะเลชาวรัสเซียให้ข้อมูลการค้นพบภูเขาดินหลายลูกใต้ทะเลแถวๆบังกลาเทศ มีขนาดเล็กและใหญ่ต่างกัน เกิดจากการตกตะกอนของแม่น้ำ อยู่ห่างจากประเทศไทย 340 กิโลเมตร พวกเขาเตือนว่าหากภูเขาดินเหล่านี้ถล่มอาจเกิดคลื่นสึนามิโดยไม่รู้ตัว แล้วเราจะป้องกันตัวเองได้อย่างไร
    "ศูนย์เตือนภัยได้ของบประมาณปีนี้กว่า 100 ล้านบาทเพื่อซื้อทุ่นตรวจวัดการเกิดคลื่นสึนามิเพิ่มอีก 2 ทุ่น เมื่อเกิดคลื่นสึนามิจะได้เตือนทัน แม้ว่าการติดตั้งทุนจะเตือนภัยล่วงหน้าเพียงแค่ 30 นาทีก็ยังดีกว่าไม่มีการเตือนภัยใดๆ" ดร.สมิทธกล่าวทิ้งท้าย
    ----------------
    ภาพการระเบิดของภูเขาไฟบนเกาะเธราหรือซานโตนีประเทศกรีก เมื่อราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล ถูกนำเสนอผ่านทรูวิชั่นส์-ยูบีซีช่อง 45 เมื่อค่ำวันหนึ่งกลางเดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา ทีมสำรวจของเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก ใช้เรือดำน้ำ ขนาด 2 ตัน ลงไปเก็บตัวอย่างซากหินและเศษตะกอนภูเขาไฟที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 3,600 ปีก่อน เพื่อค้นหาปริศนาของภูเขาไฟระเบิดครั้งประวัติศาสตร์ ที่มีความรุนแรงกว่าการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวหลายร้อยเท่านัก
    ทั้งนี้แรงระเบิดจากภูเขาไฟบนเกาะซานโตนี มีความรุนแรงมากจนทำให้ปล่องภูเขาไฟแตกเป็นเสี่ยงๆ ทำให้ภูเขาไฟขนาดมหึมาจมสู่ก้นทะเลลึก และก่อให้เกิดคลื่นยักษ์สูงร่วม 30 เมตรซัดถล่มเกาะครีทซึ่งอยู่ห่างออกไปร่วม 100 กิโลเมตร จนทำให้อาณาจักรไมนวลที่เคยเจริญรุ่งเรืองที่สุดในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนต้องสิ้นสุดลง
    เมื่อย้อนกลับมาสู่ยุคปัจจุบันที่มนุษย์กำลังหาวิธีรับมือกับภัยธรรมชาติทุกรูปแบบที่กำลังถาโถมเข้ามาในศตวรรษนี้ และเริ่มมีข่าวลือหนาหูถึงเรื่องคำทำนายวันสิ้นโลก ท่ามกลางสถานการณ์แผ่นดินไหวถี่และรุนแรงขึ้น โดยมีความสัมพันธ์กับการเกิดภูเขาไฟระเบิด อาจกลายเป็นภัยพิบัติอีกชนิดที่สั่นคลอนชีวิตมนุษย์ได้
    ภูเขาหินยักษ์ที่อัดแน่นไปด้วยแมกม่าจากหินหลอมละลายใต้พิภพเกือบ200 แห่งทั่วโลกอาจกำลังถูกปลุกด้วยการขยับตัวของแผ่นเปลือกโลก ฤา...ใกล้ถึงวงรอบการระเบิดของภูเขาไฟครั้งประวัติศาสตร์ที่จะย้อนมากลืนอารยธรรมของมนุษย์อีกครั้ง!

    ทีมข่าวรายงานพิเศษ: เรื่อง
    เนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก-อินเทอร์เน็ต: ภาพ
    -------------------
    Sidebar 1
    ภูเขาไฟในไทย

    ประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟที่ปะทุและเกิดการระเบิดมาแล้ว8 แห่ง อยู่ที่ จ.บุรีรัมย์ 6 แห่ง ได้แก่ ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง ที่ตั้งของปราสาทหินพนมรุ้ง ภูเขาไฟอังคาร ภูเขาไฟหินหลุบ ภูเขาไฟกระโดง ภูเขาไฟไบรบัด และภูเขาไฟคอก ส่วนอีก 2 แห่ง ตั้งอยู่ที่ จ.ลำปาง ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาดอกจำปาแดด และภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู โดยภูเขาไฟทั้งหมดดับสนิทหมดแล้ว
    โดยภูเขาไฟลูกสุดท้ายของไทยสิ้นฤทธิ์ไปเมื่อ7 แสนปีก่อน!?!
    ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยาบอกว่า การระเบิดของภูเขาไฟในไทยทั้ง 8 แห่งนั้น ไม่มีความรุนแรง เพราะลาวาชนิดบะซอลต์ มีส่วนประกอบของเหล็กและแมงกานีส ซึ่งมีความหนืดต่ำ ไหลง่าย เหมือนลาวาภูเขาไฟที่ฮาวาย แตกต่างจากภูเขาไฟที่อินโดนีเซียหรือกรีซ ซึ่งลาวาจะเป็นหินหนืดไหลช้า จะไปกีดขวางทางไหลของลาวาและมีการสะสมแรงดันเอาไว้ ทำให้มีการปะทุและระเบิดที่รุนแรงนั่นเอง
    อย่างไรก็ตามสิ่งที่ทำให้ผู้คนเสียชีวิตจากภัยภูเขาไฟระเบิดไม่ใช่ ลาวา แต่เป็นผ้าห่มแห่งหมอกควันพิษที่เรียกว่า "ไพโรคลาสติก" ที่ประกอบด้วยควันพิษและเศษหินร้อนเคลื่อนที่เร็วไหลลงมาถล่มทับหมู่บ้านเบื้องล่าง อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่"เมืองปอมเปอี" คราวที่ภูเขาไฟวิสุเวียสระเบิดเมื่อปี 622

    -----------------
    Sidebar 2
    บันทึก...ปฐพีเดือดครั้งสำคัญ

    - ปี622 ภูเขาไฟวิสุเวียส ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว16,000 คน
    - ปี1712 ภูเขาไฟเอ็ตนาเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชวิตราว15,000 คน
    - ปี2174 ภูเขาไฟวิสุเวียสประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว 4,000 คน
    - ปี2212 ภูเขาไฟเอ็ตนาเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว 20,000 คน
    - ปี2315 ภูเขาไฟปาปันดายัง ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว 3,000 คน
    - ปี2335 ภูเขาไฟอุนเซ็นดาเกะ ประเทศญี่ปุ่น มีผู้เสีนชีวิตราว10,400 คน
    - ปี2358 ภูเขาไฟแทมโบโลประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว12,000 คน และยังทำให้ปี2359 ไม่มีฤดูร้อนอีกด้วย
    - วันที่26-28 สิงหาคม2426 ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว 36,000 คน
    - วันที่8 เมษาย 2445 ภูเขาไฟซานตามาเรียประเทศกัวเตมาลา มีผู้เสียชีวิตราว 1,000 คน
    - วันที่8 พฤษภาคม 2445 ภูเขาไฟปิเล เกาะมาร์ตินีกมีผู้เสียชีวิตราว 10,000 คน
    -->[​IMG]
    หลังจากเกิดแผ่นดินไหวครั้งประวัติศาสตร์ที่เขย่าโลกใบนี้ด้วยความรุนแรงขนาด 9.3 ริกเตอร์ และก่อให้เกิดคลื่นสึนามิคร่าชีวิตผู้คนไปนับแสน เมื่อเช้าวันที่ 26 ธันวาคม2547

    [​IMG]

    อาจไม่ใช่ภัยธรรมชาติร้ายแรงที่สุดที่มนุษย์โลกต้องเผชิญ...หากเป็นสัญญาณเริ่มต้นที่นำไปสู่หายนะของโลกครั้งใหม่ที่ยากเกินจะคาดเดา!
    นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกตั้งข้อสังเกตว่าหลังแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ผ่านมา อาจมีส่วนทำให้การเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลกมีความถี่เพิ่มขึ้น ขณะที่ใต้พิภพยังคุกรุ่นไปด้วยธารหินหนืดหลอมละลายจากแผ่นเปลือกโลกที่มุดลงใต้เปลือกโลก อาจจะพร้อมใจกันปลดปล่อยพลังงานความร้อนที่รุนแรงกว่าระเบิดนิวเคลียร์หลายพันเท่าออกมาตามปล่องภูเขาไฟที่เคยหลับไหลมาหลายร้อยปีได้ [​IMG]
    สแตนกูสบี ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวและสึนามิจากศูนย์ Pacifle Disaster Warning Center (PDC) ประเทศสหรัฐอเมริกาเชื่อว่าการเกิดแผ่นดินไหวที่มีความถี่สูงมากเช่นปัจจุบัน เป็นอาการปกติของการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภูเขาไฟที่ใกล้กับจุดที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม2547
    ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวและสึนามิฯหมายถึงภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บนเกาะบาร์เรนนั่นเอง ซึ่งกำลังปลดปล่อยธารลาวาและควันพิษที่เกิดจากเศษหินหลอมละลายพวยพุ่งอยู่กลางทะเลอันดามัน หากรอบๆ ภูเขาไฟใต้น้ำลูกนี้มีตะกอนสะสมอยู่เป็นปริมาณมาก การระเบิดของภูเขาไฟอย่างรุนแรงหรือเกิดแผ่นดินไหว อาจทำให้ตะกอนปริมาณมหาศาลเหล่านี้พังทลายลงอย่างรวดเร็วและก่อให้เกิดคลื่นสึนามิได้
    เฉกเช่นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี2541 เมื่อแผ่นดินไหวขนาด6.8 ริคเตอร์ทำให้เกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเลทางตอนเหนือของเกาะปาปัวนิวกินี เกิดคลื่นสึนามิสูง 7-10 เมตรซัดถล่มชายฝั่งทำให้ชาวปาปัวนิวกีนีเสียชีวิตเกือบ 3,000 คน [​IMG]
    ส่วน"บาร์เรน" เป็น1 ใน 3 ของภูเขาไฟที่หน่วยงานเกี่ยวกับการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติของไทยกำลังจับตาดูอยู่ ได้แก่ภูเขาไฟบาร์เรน ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย และภูเขาไฟที่ตั้งอยู่บริเวณแหลมญวน เพราะภูเขาไฟระเบิดแต่ละครั้งความรุนแรงไม่ได้อยู่ที่ธารลาวาร้อน (แมกม่า) หรือหินเดือดหลอมละลายใต้พิภพ แต่อาจเป็นอันตรายจากควันพิษ (ไพโรคลาสติก) หรือคลื่นสึนามิก็ได้
    สัญลักษณ์รูปสามเหลี่ยมสีเหลือง2 จุดบนแผนที่เหนือเกาะนิโคบาร์แทนที่ตั้งภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรน ปรากฏอยู่บนโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ของ "วรวุฒิ ตันติวนิช" ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี ซึ่งระบุว่าภูเขาไฟลูกนี้เคยระเบิดมาแล้วเมื่อครั้งอดีต แต่เป็นภูเขาไฟขนาดเล็กไม่ค่อยมีความสำคัญในสายตาของนักวิทยาศาสตร์โลก แต่บังเอิญว่าเป็นภูเขาไฟที่อยู่ใกล้ประเทศไทย
    วรวุฒิอธิบายว่า ภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรนตั้งอยู่กลางทะเลอันดามัน อยู่ห่างจากหมู่เกาะนิโคบาร์ ประเทศอินโดนีเซีย ไปทางทิศตะวันออก มีประวัติการปะทุและระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้เป็นระยะๆ แต่ไม่รุนแรง ล่าสุดปี 2538 มีรายงานการปะทุและมีรายงานการพ่นลาวาออกมา [​IMG]
    อย่างไรก็ตามวรวุฒิ บอกว่า บนเกาะบาร์เรนไม่มีคนอยู่อาศัย จึงไม่ค่อยมีข้อมูลเกี่ยวกับการระเบิดมากเท่าไรนัก แต่ภูเขาไฟลูกนี้ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กังวลว่าหากเกิดการระเบิดอาจจะเกิดสึนามิ ซึ่งประเทศไทยอาจได้รับผลกระทบจากภูเขาไฟลูกนี้ เพราะอยู่ใกล้ประเทศไทยมากกว่าภูเขาไฟลูกอื่นๆ
    "โดยส่วนตัวผมมองว่าภูเขาไฟลูกนี้ อาจจะระเบิดไม่รุนแรงเหมือนภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ที่มีความสูงใหญ่และมีพลังมากจนยอดปล่องพังทลายลงมาเมื่อครั้งระเบิดใหญ่ปี 2426 มีผู้เสียชีวิตนับหมื่นคน และเกิดคลื่นสึนามิ ปัจจุบันภูเขาไฟกรากะตัวกำลังฟอร์มตัวขึ้นอีกครั้ง จากการพ่นหมอกควันที่ประกอบด้วยหินขึ้นมาปกคลุมปากปล่องจนมีขนาดเกือบเท่าของเดิมแล้ว และอาจจะระเบิดรุนแรงอีกครั้งก็ได้"
    ทั้งนี้ภูเขาไฟกรากะตัว ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวภูเขาไฟอยู่ระหว่างเกาะสุมาตรากับเกาะชวา เคยเกิดระเบิดเล็กๆน้อยๆ หลายครั้ง แต่เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ในปี2224 และอีก200 ปีต่อมา วันที่ 20 พฤษภาคม 2426 ก็เกิดระเบิดเสียงดังกึกก้อง ปล่อยเถ้าถ่านควันไฟออกมาต่อเนื่องจนถึงวันที่ 26 สิงหาคมปีเดียวกันเกิดระเบิดรุนแรงอีกครั้งจนถึงรุ่งเช้าของอีกวัน [​IMG]
    ...เสียงกัมปนาทจากปล่องภูเขาไฟดังขึ้นอีกครั้ง ทำให้ยอดปล่องภูเขาไฟพังทลายลงมา ธารลาวาสีแดงเพลิงไหลท่วมหมู่บ้าน 163 แห่ง มีผู้เสียชีวิตราวๆ 36,000 คน
    "หากภูเขาไฟที่เกาะบาร์เรนระเบิดรุนแรงจนทำให้ภูเขาไฟถล่ม และมีบางส่วนพังทลายลงมาอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิสูง 1-2 เมตรเกิดขึ้นที่ชายฝั่งไทย แม้ว่าคลื่นจะดูไม่สูงมาก แต่อาจสร้างความเสียหายได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังเฝ้าระวังการระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้อยู่" วรวุฒิบอก
    อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2550 มีรายงานการปะทุและระเบิดของภูเขาไฟบนเกาะบาร์เรนที่อยู่ห่างจากเกาะนิโคบาร์ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 135 กิโลเมตร ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านภูเขาไฟระเบิดจากประเทศอินเดีย ลงไปสำรวจร่องรอยการระเบิดครั้งใหม่ในรอบ 10 ปี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ที่ผ่านมา พบลาวาและหินระเบิดพุ่งออกมาอย่างรุนแรงจากปล่องภูเขาไฟ มีอุณหภูมิตั้งแต่ 900 ถึงมากกว่า 1,200 องศาเซลเซียส พร้อมด้วยฝุ่นหินของลาวาที่ร้อนแรงพุ่งออกมาจากปล่องสูงถึง 100 เมตร นานกว่า 15-30 วินาที หมอกควันที่ระเบิดออกมา มีรูปร่างคล้ายดอกเห็ดใหญ่ๆ ที่มีทิศทางพุ่งไปทางเหนือ
    นอกจากนี้วรวุฒิ ยังระบุถึง ภูเขาไฟอีกลูกที่อาจก่อให้เกิดคลื่นสึนามิชายฝั่งอ่าวไทย นั่นคือ ภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ตรงบริเวณปลายแหลมญวน หากระเบิดขึ้นมาอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้ แต่ตอนนี้ยังสบายใจได้ เพราะภูเขาไฟลูกนี้ยังสงบเงียบอยู่ แต่ขณะเดียวกันภูเขาไฟกรากะตัวที่ยังคุกรุ่นอยู่ด้วย ยังเป็นสิ่งที่น่ากังวล เพราะหากภูเขาไฟลูกนี้ระเบิดอีกครั้งอาจทำให้เกิดสึนามิได้เช่นกัน
    "ภูเขาไฟใต้ทะเลอาจมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาตลอดเวลา และอาจทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้ ขณะที่ภูเขาไฟรอบๆ ประเทศไทยก็ปล่อยเถ้าถ่านที่เป็นพิษปกคลุมพื้นที่ 3-4 จังหวัดภาคใต้ของไทย"ดร.สมิทธธรรมสโรช ประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ย้ำถึงภัยพิบัติจากภูเขาไฟระเบิด
    แม้ว่าภูเขาไฟของไทยทั้ง8 แห่งจะดับสนิทหมดแล้ว แต่ปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญหน้ากับภูเขาไฟที่อาจระเบิดได้ในทุกนาที รวมถึงภูเขาไฟใต้ท้องทะเลที่อยู่โดยรอบประเทศไทยด้วย
    ดร.สมิทธเล่าให้ฟังว่า มีนักสำรวจทะเลชาวรัสเซียให้ข้อมูลการค้นพบภูเขาดินหลายลูกใต้ทะเลแถวๆบังกลาเทศ มีขนาดเล็กและใหญ่ต่างกัน เกิดจากการตกตะกอนของแม่น้ำ อยู่ห่างจากประเทศไทย 340 กิโลเมตร พวกเขาเตือนว่าหากภูเขาดินเหล่านี้ถล่มอาจเกิดคลื่นสึนามิโดยไม่รู้ตัว แล้วเราจะป้องกันตัวเองได้อย่างไร
    "ศูนย์เตือนภัยได้ของบประมาณปีนี้กว่า 100 ล้านบาทเพื่อซื้อทุ่นตรวจวัดการเกิดคลื่นสึนามิเพิ่มอีก 2 ทุ่น เมื่อเกิดคลื่นสึนามิจะได้เตือนทัน แม้ว่าการติดตั้งทุนจะเตือนภัยล่วงหน้าเพียงแค่ 30 นาทีก็ยังดีกว่าไม่มีการเตือนภัยใดๆ" ดร.สมิทธกล่าวทิ้งท้าย
    ----------------
    ภาพการระเบิดของภูเขาไฟบนเกาะเธราหรือซานโตนีประเทศกรีก เมื่อราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล ถูกนำเสนอผ่านทรูวิชั่นส์-ยูบีซีช่อง 45 เมื่อค่ำวันหนึ่งกลางเดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา ทีมสำรวจของเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก ใช้เรือดำน้ำ ขนาด 2 ตัน ลงไปเก็บตัวอย่างซากหินและเศษตะกอนภูเขาไฟที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 3,600 ปีก่อน เพื่อค้นหาปริศนาของภูเขาไฟระเบิดครั้งประวัติศาสตร์ ที่มีความรุนแรงกว่าการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวหลายร้อยเท่านัก
    ทั้งนี้แรงระเบิดจากภูเขาไฟบนเกาะซานโตนี มีความรุนแรงมากจนทำให้ปล่องภูเขาไฟแตกเป็นเสี่ยงๆ ทำให้ภูเขาไฟขนาดมหึมาจมสู่ก้นทะเลลึก และก่อให้เกิดคลื่นยักษ์สูงร่วม 30 เมตรซัดถล่มเกาะครีทซึ่งอยู่ห่างออกไปร่วม 100 กิโลเมตร จนทำให้อาณาจักรไมนวลที่เคยเจริญรุ่งเรืองที่สุดในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนต้องสิ้นสุดลง
    เมื่อย้อนกลับมาสู่ยุคปัจจุบันที่มนุษย์กำลังหาวิธีรับมือกับภัยธรรมชาติทุกรูปแบบที่กำลังถาโถมเข้ามาในศตวรรษนี้ และเริ่มมีข่าวลือหนาหูถึงเรื่องคำทำนายวันสิ้นโลก ท่ามกลางสถานการณ์แผ่นดินไหวถี่และรุนแรงขึ้น โดยมีความสัมพันธ์กับการเกิดภูเขาไฟระเบิด อาจกลายเป็นภัยพิบัติอีกชนิดที่สั่นคลอนชีวิตมนุษย์ได้
    ภูเขาหินยักษ์ที่อัดแน่นไปด้วยแมกม่าจากหินหลอมละลายใต้พิภพเกือบ200 แห่งทั่วโลกอาจกำลังถูกปลุกด้วยการขยับตัวของแผ่นเปลือกโลก ฤา...ใกล้ถึงวงรอบการระเบิดของภูเขาไฟครั้งประวัติศาสตร์ที่จะย้อนมากลืนอารยธรรมของมนุษย์อีกครั้ง!

    ทีมข่าวรายงานพิเศษ: เรื่อง
    เนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก-อินเทอร์เน็ต: ภาพ
    -------------------
    Sidebar 1
    ภูเขาไฟในไทย

    ประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟที่ปะทุและเกิดการระเบิดมาแล้ว8 แห่ง อยู่ที่ จ.บุรีรัมย์ 6 แห่ง ได้แก่ ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง ที่ตั้งของปราสาทหินพนมรุ้ง ภูเขาไฟอังคาร ภูเขาไฟหินหลุบ ภูเขาไฟกระโดง ภูเขาไฟไบรบัด และภูเขาไฟคอก ส่วนอีก 2 แห่ง ตั้งอยู่ที่ จ.ลำปาง ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาดอกจำปาแดด และภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู โดยภูเขาไฟทั้งหมดดับสนิทหมดแล้ว
    โดยภูเขาไฟลูกสุดท้ายของไทยสิ้นฤทธิ์ไปเมื่อ7 แสนปีก่อน!?!
    ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยาบอกว่า การระเบิดของภูเขาไฟในไทยทั้ง 8 แห่งนั้น ไม่มีความรุนแรง เพราะลาวาชนิดบะซอลต์ มีส่วนประกอบของเหล็กและแมงกานีส ซึ่งมีความหนืดต่ำ ไหลง่าย เหมือนลาวาภูเขาไฟที่ฮาวาย แตกต่างจากภูเขาไฟที่อินโดนีเซียหรือกรีซ ซึ่งลาวาจะเป็นหินหนืดไหลช้า จะไปกีดขวางทางไหลของลาวาและมีการสะสมแรงดันเอาไว้ ทำให้มีการปะทุและระเบิดที่รุนแรงนั่นเอง
    อย่างไรก็ตามสิ่งที่ทำให้ผู้คนเสียชีวิตจากภัยภูเขาไฟระเบิดไม่ใช่ ลาวา แต่เป็นผ้าห่มแห่งหมอกควันพิษที่เรียกว่า "ไพโรคลาสติก" ที่ประกอบด้วยควันพิษและเศษหินร้อนเคลื่อนที่เร็วไหลลงมาถล่มทับหมู่บ้านเบื้องล่าง อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่"เมืองปอมเปอี" คราวที่ภูเขาไฟวิสุเวียสระเบิดเมื่อปี 622

    -----------------
    Sidebar 2
    บันทึก...ปฐพีเดือดครั้งสำคัญ

    - ปี622 ภูเขาไฟวิสุเวียส ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว16,000 คน
    - ปี1712 ภูเขาไฟเอ็ตนาเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชวิตราว15,000 คน
    - ปี2174 ภูเขาไฟวิสุเวียสประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว 4,000 คน
    - ปี2212 ภูเขาไฟเอ็ตนาเกาะซิซิลี ประเทศอิตาลี มีผู้เสียชีวิตราว 20,000 คน
    - ปี2315 ภูเขาไฟปาปันดายัง ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว 3,000 คน
    - ปี2335 ภูเขาไฟอุนเซ็นดาเกะ ประเทศญี่ปุ่น มีผู้เสีนชีวิตราว10,400 คน
    - ปี2358 ภูเขาไฟแทมโบโลประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว12,000 คน และยังทำให้ปี2359 ไม่มีฤดูร้อนอีกด้วย
    - วันที่26-28 สิงหาคม2426 ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตราว 36,000 คน - วันที่8 เมษาย 2445 ภูเขาไฟซานตามาเรียประเทศกัวเตมาลา มีผู้เสียชีวิตราว 1,000 คน - วันที่8 พฤษภาคม 2445 ภูเขาไฟปิเล เกาะมาร์ตินีกมีผู้เสียชีวิตราว 10,000 คน <TABLE align=center><TBODY></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]http://www.komchadluek.net/2007/08/27/t006_132648.php?news_id=132648</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    สำรวจภูเขาไฟใต้น้ำ

    นักวิทยาศาสตร์นิวซีแลนด์และสหรัฐอเมริกาสำรวจพบภูเขาไฟใต้น้ำที่ยังมีพลังมหาศาลที่สุดในโลกทอดตัวอยู่บริเวณแนวเกอร์มาเดค อาร์ค ทางตะวันออกเฉียงเหนือเลียบอ่าวเพลนตี้ ประเทศนิวซีแลนด์ หลังจากใช้เรือดำน้ำของมหาวิทยาลัยฮาวายเพื่อสำรวจสภาพธรรมชาติ ธรณีวิทยา สารเคมีที่พื้นทะเลและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตรวมถึงระบบนิเวศวิทยาในบริเวณอ่าวซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะของนิวซีแลนด์
    หลังจากสำรวจบริเวณเขตปกครองปาโก ปาโกและอะเมริกันซาเมา เสร็จแล้วเมื่อวันที่ 3 เม.ย. และจะไปสำรวจเมืองตอรังกาต่อในวันที่ 22 เม.ย.นี้ เบื้องต้นนักวิทยาศาสตร์ค้นพบภูเขาไฟ 8 ลูกที่ระดับความลึกจากผิวน้ำทะเล 300-1,800 เมตร ซึ่งถ้าสภาพอากาศอำนวย นักวิทยาศาสตร์จะเริ่มดำน้ำลงสำรวจบริเวณภูเขาไฟลูกมหึมาที่ ชื่อ โมโนไว ซึ่งมีการค้นพบไปเมื่อปีที่แล้ว ซึ่งเป็นภูเขาไฟแบบ คัลเดอรา เกิดจาก แมกมาดันให้เปลือกโลกค่อยๆ โป่งขึ้นจนเกิดรอยร้าวแตกแยก แล้วส่วนที่นูนสูงที่สุดจะยุบตัวลงไปเกิดเป็นบ่อขนาดกว้าง ขนาดของโมโนไวใหญ่พอๆ กับอ่าวเวลลิงตันทั้งอ่าวทีเดียว


    หนังสือพิมพ์มติชน
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ภูเขาไฟไอซ์แลนด์ไอซ์แลนด์ วางตัวคร่อมอยู่บริเวณตอนกลางของสันเขาใต้ทะเล บริเวณแอตแลนติกตอนกลาง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ ของ<wbr>ระบบ<wbr>สันเขา<wbr>ใต้<wbr>สมุทร<wbr>ของ<wbr>เขต<wbr>โอเชียเนียกลาง สันเขาใต้สมุทรเกิดรอยแยกยาวกว่า 10,000 ไมล์เนื่องจาก การแยกตัวของแผ่นดิน ของอเมริกาเหนือและยูเรเชีย สันเขาตอนกลางของแอตแลนติก ทำให้ไอซ์แลนด์มีพื้นที่ขนาดใหญ่ระหว่างสันเขาใต้ทะเล Reykjanes ไปทางตะวันตกเฉียงใต้และสันเขา Kolbeinsey ไปทางเหนือ และภูเขาไฟเริ่มเกิดการปะทุช่วงระหว่าง 20-25 ล้านปี และ บวกกับเวลาที่เกิดมาเป็นเวลานาน ทำให้ยังมีภูเขาไฟ ที่ทรงพลังพร้อมจะเกิดการปะทุได้ทุกเมื่อ ในไอซ์แลนด์
    เนื่องจาก ทางตะวันตกของไอซ์แลนด์เป็นเขตของภูเขาไฟ ซึ่งบริเวณนี้ตั้งอยู่บนที่ราบทางอเมริกาเหนือ และทางตะวันออกไปทางที่ราบของยูเรเชียน ซึ่งบริเวณนี้เป็นบริเวณที่ที่ราบทั้งสองมาเจอกัน ที่ราบสองแผ่นนี้ เกิดการเสียดสีกัน ไปในทิศทางตรงกันข้าม เนื่องจากการคร่อมกันของพื้นที่ทั้งสองนี้ ด้วยปัจจุบันการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และความร้อนทำให้เกิดพื้นที่สูงต่ำต่างๆกันไป และด้วยความร้อนใต้พื้นผิวโลก เมื่อ<wbr>เกิด<wbr>แรง<wbr>ดัน<wbr>ขึ้น<wbr>จึง<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิดลาวาระเบิด ขึ้นมาบนพื้นดิน เมื่อลาวาสัมผัสกับพื้นผิวโลก และเย็นตัวลง จึงทำให้เกิดแผ่นดินขึ้น เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่นนี้เกิดขึ้น เราจะเรียกว่า “การเชื่อมต่อที่ถูกสร้างขึ้น” และนี่คือเหตุผล ของการเกิดประเทศไอซ์แลนด์
    <!-- Close out the page --><!-- --><!-- Start the table to display the input form -->
    การปะทุของภูเขาไฟ และ การเกิดแผ่นดินไหว

    การปะทุของภูเขาไฟ และการเกิดแผ่นดินไหว จะเกิดขึ้นต่อกัน ไอซ์แลนด์มักจะสั่นสะเทือนอยู่บ่อยครั้ง เพราะการสั่นของพื้นผิวโลก การเกิดแผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นโดยทิ้งระยะช่วงห่าง นานกว่าการปะทุของภูเขาไฟ เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหาย กินพื้นที่ขนาดกว้างทางตอนใต้ของไอซ์แลนด์ ในปี 1784 และ 1896

    ยังมีภูเขาไฟกว่า 100 ลูกบริเวณตอนกลางของที่ราบในไอซ์แลนด์ ที่ยังไม่เกิดการปะทุขึ้นในรอบ 1,000 ปีที่ผ่านมาและระหว่าง 30 และ 40 เกิดการปะทุขึ้น แต่เมื่อ 2-3 ศตรวรรษที่แล้ว เฉลี่ยแล้ว เกิดการการปะทุของภูเขาไฟในไอซ์แลนด์ทุกๆ 5 ปี ตั้งแต่ยุคกลาง ซึ่งเกิดการปะทุในเขตไอซ์แลนด์ อย่างไรก็ตาม สมมติฐานทางธรณีวิทยาล่าสุด ไม่ได้ประเมินการเกิดการประทุของภูเขาไฟในทะเล ซึ่งมีความรุนแรงมากกกว่า ภูเขาไฟบนพื้นดินตามปกติ
    ภูเขาไฟที่มีชื่อเสียง และทรงพลังในไอซ์แลนด์ คือ ภูเขาไฟ Hekla ซึ่งเกิดการปะทุมาแล้ว 18 ครั้ง ตั้งแต่ปี 1104 และครั้งล่าสุดเมื่อปี 2000 ส่วนภูเขาไฟลูกอื่นๆ ที่ยังคุกกรุ่นอยู่ เกิดการประทุบ่อยๆ เกือบเท่า Hekla คือ Grimsvotn, Katla, Askja และ Krafla ภูเขาไฟ Katla เกิดการปะทุประมาณ 20 ครั้ง ตั้งแต่มีประชากรเข้ามาตั้งรกรากที่ไอซ์แลนด์
    ภูเขาไฟใน Heimaey บนเกาะ Vestmannaeyjar ทางชายฝั่งตอนใต้ ซึ่งเป็นภูเขาที่ไม่เกิดการปะทุมาเป็นเวลากว่า 5,000 ปีแล้ว แต่ ได้เกิดการปะทุขึ้นเมื่อปี 1973 Heimaey เป็นภูเขาไฟ ที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะ Vestmannayjar และเป็นสถานที่เดียว ที่เป็นเขตที่อยู่อาศัย เมืองแห่งการประมง Heimaey ด้วยจำนวนประชากร 5,300 คนอาศัยอยู่ไกลจากภูเขาไฟไปเพียง 200 – 300 เมตร ภูเขาไฟ Eldfell เกิดการปะทุขึ้น โดยไม่มีการเตือนใดๆก่อน ในคืนวันที่ 23 มกราคม ใกล้ๆกับเขตที่อยู่อาศัย ประชากรในเขตนั้นต้องถูกอพยพ ไปยังเมืองหลักด้วยเรือตกปลา และเครื่องบินในตอนกลางดึก ในคืนแรกที่เกิดการปะทุ มีเพียง 200 – 300 คนยังพักอาศัยอยู่ เพื่อดูแลงานที่สำคัญๆของพวกเขา การประทุเกิดขึ้นกินเวลาเกือบ 5 เดือน และหมูบ้านก็เกือบถูกทำลายทั้งหมด เพราะลาวา ซึ่งทำให้เกิดหินต่างๆมากมาย เหมือนกับการประชดประชัน เมื่อการปะทุของภูเขาไฟสิ้นสุดลง ท่าเรือของเมือง กลับดีกว่าเดิม พื้นดินใหม่ที่เกิดขึ้นเป็นพื้นที่ที่กันลม และน้ำ หลังจากนั้น ผู้คนก็เริ่มย้ายกลับมาอาศัยอยู่ อีกครั้งหนึ่ง ปัจจุบันมีประชากรประมาณ 4,900 คน
    การเกิดการปะทุของภูเขาไฟใต้น้ำ เกิดขึ้นที่ภูเขาไฟ Reykjanes ในปี 1963 ผลที่ได้คือ เกิดเกาะลูกใหม่ขึ้นที่ชื่อว่า Surtsey ซึ่งเกาะที่เกิดขึ้น มีลักษณะคล้ายกับ Heimaey มีความลึกประมาณ 130 เมตร เกิดการประทุครั้งสุดท้ายเมื่อปี 1967 และจากการระเบิดครั้งใหญ่ที่สุด ทำให้เกิดพื้นเกาะใหม่ขึ้น มีขนาด 2.8 กิโลเมตร แต่ปัจจุบันพื้นที่ลดขนาดลงเรื่อยๆ เนื่องจากอิทธิพลของคลื่น จนเหลือประมาณ 1.5 กิโลเมตร
    มีหลายครั้งหลายคราว ในประวัติศาสตร์ของไอซ์แลนด์ ในการเกิดหายนะด้านการระเบิดของภูเขาไฟ การไหลของลาวาครั้งใหญ่ที่สุดในโลก ถูกบันทึกไว้และเกิดขึ้นที่ไอซ์แลนด์ในปี 1783 กินพื้นที่ขนาด 25 กิโลเมตร ภูเขาไฟ Lakagigar ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ Vatnajokull ความหนาของลาวา ประมาณ 3 ลูกบาศก์ไมล์ เป็นลาวาที่มีความรุนแรงที่สุด เท่าที่เคยเกิดขึ้นบนโลกของเรา อย่างน้อยที่สุด ก็เท่าที่เคยบันทึกได้ในสหัสวรรษล่าสุด ขี้เถ้ามากมายถูกปล่อยออกมา ปกคลุมพื้นที่ชั่วระยะหนึ่ง แกะจำนวนกว่า 100,000 ตัวและสัตว์ที่เลี้ยงไว้เพื่อปศุสัตว์ ล้มตายเพราะแก๊สพิษที่ปกคลุมอยู่ ภาวะขาดแคลนอาหารเกิดขึ้น ทำให้ประชากรกว่า 20% ล้มตายลง หรือประมาณ 10,000 คน การเกิดการปะทุครั้งนี้กินพื้นที่ประมาณ 580 กิโลเมตร ระหว่างฤดูร้อนในปี 1783 หมอกสีน้ำเงินปกคลุมไปทั่วทั้งยุโรป และทางตะวันตกของเอเชีย ทำให้เกิดปัญหาด้านการเกษตรขึ้น ในเวลานั้น

    ภูเขาไฟและพลังงาน
    ธรณีวิทยาทั่วๆไปแล้ว ภูเขาไฟจะสร้างพลังงานความร้อนใต้พิภพอย่างไม่มีที่สิ้นสุด มากกว่า 90% ของบ้านเรือนในไอซ์แลนด์ ได้รับความร้อนจากความร้อนใต้พิภพตามธรรมชาติ - ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานทางธรรมชาติที่ถูกที่สุด และสะอาดที่สุด คุณสามารถพบเห็นน้ำพุร้อนได้ทั่วไป และการละลายของธารน้ำแข็งขนาดย่อยมากมาย ทำให้เกิดพลังงาน้ำอีกด้วย พลังงานเหล่านี้ เป็นพลังงานที่สะอาดที่ไอซ์แลนด์สามารถผลิตเองได้ และทำให้มลภาวะเกิดขึ้นน้อยที่สุด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2007
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธรณีวิทยาและความร้อนใต้ภิภพในประเทศไอซ์แลนด์

    ธรณีวิทยาและที่ตั้งธรณีวิทยาแปรสัณฐา

    ไอซ์แลนด์ วางตัวคร่อม อยู่ระหว่างแอตแลนติกกลาง และมหาสมุทรกลาง ของโลกเป็นประเทศที่มีพื้นที่<wbr>กว้างใหญ่มากที่สุด ในน่านน้ำกลาง ไอซ์แลนด์ถูกพัฒนามา ตามแนวสันเขาของแอตแลนติกกลาง เนื่องจากเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ระหว่างสันเขาใต้น้ำ จากตะวันตกเฉียงใต้และสันเขา Kolbeinseyสู่ทาง<wbr>เหนือ และได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ 20-25 ล้านปีที่แล้ว<wbr>และ<wbr>หลอม<wbr>รวม<wbr>เป็น พื้นที่<wbr>แผ่นดิน<wbr>ใหญ่<wbr>หลังจาก<wbr>การ<wbr>เกิด<wbr>การ<wbr>ประทุ ของภูเขาไฟในไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์<wbr>เกิดการ<wbr>ปะทุ<wbr>ของภูเขาไฟ<wbr>มากมายหลายครั้ง จนเกิดกลายเป็นเขตภูมิภาค บนโลกเราใบนี้ และพื้นที่ก็ค่อยๆขยาย เพราะ<wbr>เกิด<wbr>การ<wbr>แตก<wbr>และ<wbr>การ<wbr>งอก<wbr>ของ<wbr>เปลือกโลก ผ่านภูเขาไฟ ในเขตของภูเขาไฟ <wbr>ซึ่งในแง่ของกรอบโครงสร้าง<wbr>ของที่ราบทำใหเกิดอาณาเขต<wbr>ระหว่างที่ราบยูโรเชี่ยนและ<wbr>ที่ราบทางอเมริกาเหนือ กล่าวถึงทางตะวันตกของไอซ์แลนด์<wbr>จะ<wbr>เป็น<wbr>เขต<wbr>ของ<wbr>ภูเขาไฟ ซึ่งจะตั้งอยู่ในที่ราบสูงของอเมริกาเหนือ และที่ราบสูงของยูโรเชียน ด้วย<wbr>หิน<wbr>ที่<wbr>เก่า<wbr>แก่<wbr>ที่สุด ทางตะวันตกเฉียงเหนือและ ทางตะวันออกของไอซ์แลนด์ หาก<wbr>จะ<wbr>พูด<wbr>ให้<wbr>ซับซ้อน<wbr>ขึ้นรูปของหิน จะคล้ายๆกับหินในยุคของ ทางตะวันตกของไอซ์แลนด์ และศูนย์กลาง ของทางเหนือของไอซ์แลนด์ เนื่องจากการเคลื่อนตัวของจุดความร้อนและเขตภูเขาไฟ อัตราการแผ่ขยายสามารถคำนวณได้เท่ากับ 1 เซนติเมตรห่างออกไปในทุกๆ 1<script language="JavaScript1.1" type="text/javascript"></script>
    ธรณีวิทยาและประวัติศาสตร์ทางธรณีวิทยา
    ไอซ์แลนด์ถูกสร้างขึ้น เกือบเป็นเหมือนลักษณะเฉพาะ ของหินภูเขาไฟ แต่เป็นหินที่ดีกว่าหินภูเขาไฟ ฟินซิลิซิก และหินชั้นกลาง กล่าวคือ หินจำพวก หินไรโอไลต์, หินเดไซต์, หินเดไซต์ และหินแอนดิไซต์ หินเหล่านี้เป็นส่วนประกอบประมาณ 10% และเกิดจากการตกตะกอนอีก 10%


    [​IMG]


    การสร้างหินหลักๆของไอซ์แลนด์สามารถแยกการเกิดชั้นหินได้ 4 แบบหลักๆ
    1.การเกิดของที่ราบหินภูเขาไฟแบบเทอร์เชียรี่ ชั้นสูง
    2.การเกิดของหินไพลโอซินชั้นสูงและหินภูเขาไฟสีเทาชั้นต่ำของหินไฟลสโตซีน
    3.การเกิดของหินไพลสโตซีนพาลาโกไนต์โมเบอร์ก (ไฮลโลคลาสไท) และ
    4.การเกิดแบบหลังธารน้ำแข็ง ซึ่งจะอยู่ภายในลาวาภายหลังธารน้ำแข็ง รวมไปถึงการตกตะกอน จนกระทั่งสารตกตะกอนน้ำแข็ง จากการแยกตัวของการปกคลุมของน้ำแข็งและทะเล ฟลูเวิล และ การตกตะกอนของลาคัสทริน และดินของธารน้ำแข็งยุคล่าสุด และในสมัยโฮโลเซีย


    [​IMG]


    การก่อตัวของภูเขาไฟเทอร์เชียรี่ ประกอบกันเป็นทางตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนหลักของเกาะทางตะวันตกของไอซ์แลนด์ และส่วนตะวันตก ของทางเหนือของไอซ์แลนด์ ทั้งหมดรวมกันมีขนาดประมาณ ครึ่งหนึ่งของประเทศ ทางตอนตะวันออกของไอซ์แลนด์ เกิดภูเขาไฟ ที่มีลาวาไหลปกคลุม ก่อตัวประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ของลาวาที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเล ซึ่งมีระดับชั้นหินหนาประมาณ 10,000 เมตร ซิลิซิก และ หินชั้นกลางรวมทั้งเศษหินทราย เป็นส่วนประกอบที่เหลือ พนักส่วนใหญ่เป็นแบบธรรมดาและ หินเกรบโบ รวมไปถึงหินแกรนิตโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพังทลายของภูเขาไฟส่วนกลาง ชั้นหินที่พ่นลาวา และหินอิกนิมไบรต์ สามารถพบได้ บริเวณภูเขาไฟส่วนกลาง


    [​IMG]


    หินที่เก่าแก่ที่สุดที่ อยู่เหนือระดับน้ำทะเลมีอายุประมาณ 14 ล้านปี ดังนั้น ภูเขาไฟที่เก่าแก่ที่สุดจะไม่มีอายุมากกว่า ไมโอซีนกลาง และจะอายุน้อยกว่าภูเขาไฟในเกาะอังกฤษ กรีนแลนด์และ Faroes ภูเขาไฟเหล่านี้ มีความสอดคล้องทางทฏษฎีของการขยายของพื้นผิวมหาสมุทร


    [​IMG]


    ลาวาเม็ดเล็กๆ ที่ปะทุออกมาจากภูเขาไฟเทอร์เชียรี่ ในไอซ์แลนด์ ปกติจะประกอบไปด้วยแร่ควอทซ์ เช่น หินคริสตัล หินแจสเปอร์ และหินชัลเซโดนี หรือ ซีโอไลต์ ซีโอไลต์พบได้จาก Teigarhorn ใน Berufjorour สามารถพบได้ตามพิพิธภัณฑ์ต่างๆทั่วโลก แร่Helgustaoir ใน Reydarfjorour ที่ยังเหลือ เป็นแหล่งที่สำคัญของโลก ของแร่ประเภท ออพติคอล แคลไซต์ ซึ่งเป็นเหมือนแหล่งเดียวในไอซ์แลนด์ และมีมาเป็นศตวรรษแล้ว


    [​IMG]


    การแทรกเข้าของภูเขาไฟ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางไอซ์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นการตกตะกอนแบบที่ราบ และจะมีพื้นผิวชั้นที่มีขนาดบางของลิกไนต์ สายพันธ์สามารถพบได้รวมทั้ง บีช เมเปิ้ล ไวน์ ลิริโอเดนดรอน และ คอนิเฟอร์ (พืชพวกสน) ป่าผสมของพืชพวกคอนิเฟอร์ และต้นไม้พรรณพืชในเขตอบอุ่นเป็นดัชนี บ่งชี้ว่าภูมิอากาศมีลักษณะอบอุ่น ป่าในเขตอบอุ่นนี้ค่อยๆหายไปในสมัยไพโอซีนเมื่อภูมิอากาศเริ่มเย็นขึ้น และเกิดการตกตะกอนของธารน้ำแข็งเป็นครั้งแรก ดังนั้น จึงกลายเป็น ชั้นบางๆของลิกไนต์ซึ่งสามารถเป็นเชื้อเพลิงได้ ถึงแม้ว่าในบางพื้นที่จะมีจำนวนไม่มากนักก็ตาม

    หินไพลอีสโตซีนประกอบขึ้นส่วนใหญ่ โดยขยายจากตะวันตกเฉียงใต้ ไปตะวันออกเฉียงเหนือ และในเขตระหว่างเขตภูเขาไฟที่ราบเทอร์เชียรี่ และยังปรากฏในคาบสมุทร Tjornes Snaeffellsnes และ Skagi หินไฟลอีสโตซีน ถูกแบ่งออกเป็น 2 การเกิดและจำกัด ระหว่างกันซึ่งเเคยเป็นสนามแม่เหล็ก ที่ผลักกันอยู่ เมื่อประมาณ 700,000 ปีที่แล้ว

    <table class="mainAreaTable" id="mainArticleAreaTable" align="center" bgcolor="#f6f7f9" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="mainarea" id="mainArticleArea3" height="100%" valign="top" width="100%">
    </td></tr><!-- Close out the page --><!-- --><!-- Start the table to display the input form --><tr><td class="mainarea" id="mainArticleArea4" height="100%" valign="top" width="100%"><table class="tabArticleImageRight" id="articleImageRightTable1160" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="ingress" id="articleImageRightContent"><table class="tabArticleImageRightContent" id="textArea1160" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="tdArticleImageRightContent" align="left">[​IMG]



    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    สังหรณ์ใจว่า ไอ้เจ้าภูเขาไฟที่หลับๆ อยู่มันทะยอยตื่นมา แล้วมันอาจระเบิดพร้อมๆ กันหลายๆ ลูก
     
  16. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    สังหรณ์ใจว่า ไอ้เจ้าภูเขาไฟที่หลับๆ อยู่มันทะยอยตื่นมา แล้วมันอาจระเบิดพร้อมๆ กันหลายๆ ลูก
    <!-- / message --><!-- sig -->

    ____________________________________________________________
    มี "สติ" รู้กาย รู้ใจ อย่างเนืองๆ
    เวลาเหลือน้อยเต็มที เร่งเพียรภาวนากันเหอะ

    Fโดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาไฟใต้สมุทรที่พอระเบิดแล้วจะกลายเป็นเมก้าสึนามิที่รุนแรงอย่างยิ่ง

    ดังนั้นเราจึงต้องจับตาดูการประทุตัวของภูเขาไฟเอาไว้เสมอ

    การที่คุณสมิทธิออกมาพูดเรื่องภูเขาไฟไม่ใช่เรื่องไกลตัวคนไทย น่าจะเป็นสัญญานสำคัญว่าขณะนี้ ท่านได้มีข้อมูลบางอย่างอยู่ในมือเรียบร้อยแล้ว และออกมาเตือนเป็นการอ้อมๆให้กับสังคมไทย
    <!-- / sig -->
     
  17. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** ภูเขาไฟ ไม่เป็นภูเขาก็ไฟ ****

    เปลือกโลก...กำลังขยับตัวทั้งหมด
    ผู้มีปัญญา...และไม่ประมาท
    ช่วยกันศึกษา ค้นหา แจ้งเตือน....แบบไม่เป็นทางการ
    ตนพึ่งตน...ประชาชน พึ่งพวกท่าน
    ศึกษาข้อมูล ตรวจสอบ ลักษณะหิน
    ค้นหาตำแหน่ง ... หินลาวาที่เคยไหลออกมานานแล้ว
    ตำแหน่ง...ผิวโลกร้าวใหม่ แก๊สรั่ว มีไอ มีควัน มีกลิ่น
    เตือนให้ชาวบ้านท้องถิ่นล่วงรู้ ถึงภัยวันข้างหน้า

    ไม่ต้องกลัว...ขายหน้า เพราะเกิดขึ้นแน่นอน
    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  18. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    แผ่นดินไหว ประมาณ 4-5 ริกเตอร์ ก็ให้ระวังได้แล้วถ้าไหวแถวๆหมู่เกาะนิโคบาร์
    เพราะว่า ดร.สมิธ ท่านบอกว่า ตรงนั้นมีภูเขาดินใต้ทะเล ซึ่งอาจจะถล่มด้วยแรงแผ่นดินไหว แค่ 4-5 ริกเตอร์ ได้ ถ้าหาก ดินภูเขาถล่มก็จะเป็นซึนามิได้เหมือนกัน หรืออาจจะใหญ่กว่า การเลื่อนตัวเปลือกโลกได้
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ภูเขาไฟเอตนาปะทุ-พ่นลาวา แต่ไม่สร้างความเสียหายต่อ ปชช. <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">3 กันยายน 2550 11:37 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ภูเขาไฟเอตนา ที่ตั้งอยู่บนเกาะซิซิลีของอิตาลี ปะทุขึ้นมาโดยไม่สร้างความเสียหายให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง โดยภูเขาไฟดังกล่าวได้พ่นลาวาออกมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ภูเขาไฟลูกนี้มีความพร้อมที่จะปะทุขึ้นอีกเมื่อใดก็ได้ แม้การปะทุที่เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา ไม่ได้ทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนแต่อย่างใดก็ตาม
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ภูเขาไฟเอ๊ตน่าในอิตาลี


    [​IMG]
    ภูเขาไฟเอ๊ตน่า เป็นภูเขาไฟที่สูงถึง 3,315 เมตร นับว่าเป็นภูเขาไฟที่สุดในทวีปยุโรป ตัวภูเขาตั้งอยู่บนเกาะซิซิลี ของประเทศอิตาลี ภูเขาไฟนี้มีจำนสนการถูกบันทึกการปะทุมากที่สุดในโลก เพราะความที่อยู่ใกล้กับแอ่งอารยธรรมเก่าแก่มาก่อน
    <hr>
    [​IMG]
    ภูเขาไฟเอ๊ตน่า เป็นภูเขาไฟที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อนซึ่งยังไม่เป็นที่เข้าใจแจ่มแจ้งดีนัก เนื่องจากมีการปะทุอยู่เนืองๆนับแสนๆปีมาแล้ว ลาวาเก่าทับถมลงไปบนลาวาใหม่ บางส่วนปลิวไปกับแรงปะทุ บางส่วนถล่มทลายลงมาเมื่อลาวาไหลออกไปแล้ว จึงทำให้โครงสร้างปะปนกันไปมาก ประมาณว่า เริ่มมีการเคลื่อนไหวที่ภูเขาไฟแห่งนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ ห้าแสนปีมาแล้ว มีลาวาไหลออกมาทับถมกันเป็นชายฝั่งยืดออกไปในทะเล แม้จะเรียกว่าเป็นภูเขาไฟแบบโล่ ซึ่งโดยปกติจะมีไหล่เขาลาดๆ เช่นภูเขาไฟในฮาวาย แต่จากความต่อเนื่องของการปะทุของลาวากล่าว จนโครงสร้างเปลี่ยนไปจากเดิมมามาก ทำให้นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า เป็น unsymetric shield volcano และยังมีรอยแยกมากมายที่ทำให้การปะทุของลาวา เป็นที่คาดการณ์ได้ยากมาก เพราะมีที่ให้ไหลออกมาได้หลายที่ นักวิทยาศาสตร์บางท่านก็จัดให้เป็นภูเขาไฟแบบกึ่ง shield กึ่ง strato (คือภูเขาไฟแบบสูงชันอย่างภูเขาไฟฟูจี)
    และก็เช่นเดียวกับการปะทุของลาวาจากภูเขาไฟในฮาวาย ภูเขาไฟแบบโล่มักจะไม่ระเบิดรุนแรง ลาวาจะไหลออกมาช้าๆ แต่หากก๊าซที่แยกตัวออกมาถูกอัดไม่มีทางไป นานๆเข้าก็ระเบิดออกมาได้ หากก๊าซมีช่องรอยแยกของหินให้เล็ดรอดออกมาทีละน้อย การปะทุก็ไม่รุนแรงเท่าไร แต่ภูเขาไฟลูกนี้มีประวัติการปะทุหลากหลาย ทั้งที่รุนแรงและไม่รุนแรง และส่วนมากจะไม่ปะทุออกมาจากยอดภูเขา แต่จะทะลักออกมาจากด้านข้างๆ ที่เรียกว่า flank eruption
    [​IMG]
    ในช่วงประมาณสามอาทิตย์ที่ผ่านมา ภูเขาไฟเอ๊ตน่า เริ่มเข้าสู่ช่วงที่มีกิจกรรมการปะทุคึกคักที่สุดเท่าที่เคยมีมา เถ้าถ่านที่ถูกพ่นออกมาตกไปถึงเมือง Catania ซึ่งอยู่ห่างออกไปเพียงไม่กี่กิโลเมตร ทำให้ทั้งเมืองถูกปกคลุมไปด้วยเถ้าสีเทาๆเต็มไปหมด
    นับตั้งแต่วันที่ 13 ก.ค. ปรากฏว่า มีแผ่นดินไหวอย่างอ่อนๆ มากถึง 2,400 ครั้ง ภายในเวลา 2 วัน แล้วด้านข้างภูเขาไฟก็เริ่มแยกออก ปล่อยให้ลาวาร้อนๆทะลักไหลออกมา ในวันที่ 17 และ 20 ที่ผ่านมา มีการปะทุของลาวาทั้งหมด 5 จุด ที่ระดับความสูงประมาณ 2,100 ถึง 2,700 เมตร ในด้านใต้ และด้านตะวันออกเฉียงเหนือของยอดเขา และมีการระเบิดย่อมๆแบบที่เรียกว่า stromboli eruption คือการปะทุของลาวาเหมือนบ่อน้ำพุพุ่งพล่านออกมา มีผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัส 1 คน สนามบินท้องถิ่นได้ถูกปิดลง และมีการประกาศมาตรการฉุกเฉินในเมืองใกล้เคียง มีตัวอาคารบางแห่งที่อยู่นอกๆเมืองออกไปได้รับความเสียหาย ลาวากำลังไหลเข้ามาใกล้สถานีรถรางแห่งหนึ่ง สภาพใกล้เคียงก็ยุ่งเหยิงพอดู บริเวณที่มีลาวาไหลได้ถูกปิดกั้นไม่ให้คนเข้าออกเว้นแต่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น
    ฉันคิดว่ามันเป็นสิ่งที่มหัศจรรย์มากๆเรื่องของธรรมชาติ มนุษย์ไม่สามารถกำหนดหรือล่วงรู้ได้เลย
    อย่างเช่นการระเบิดของภูเขาไฟดังตัวอย่างนี้
    <hr>
    [​IMG]
    <hr>
    อ้างอิง ​
    Vichakarn
    http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=5781
     

แชร์หน้านี้

Loading...