พยากรณ์กรรม โดยยึดหลักธรรมคำสอนพระพุทธเจ้า

ในห้อง 'บริการรับดูดวง' ตั้งกระทู้โดย รัตนชาติ, 7 มีนาคม 2011.

  1. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]คนพาลเกิดเป็นมนุษย์ได้ยาก[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]ปัญหา ได้ทราบว่า คนเกิดมาเป็นมนุษย์ไม่ใช่สิ่งที่ได้โดยง่าย[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ยิ่งเป็นคนพาลสันดานชั่วด้วยแล้ว ยิ่งมีโอกาสเกิดเป็นมนุษย์อีกน้อย[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้อย่างไร [/FONT][FONT=&quot]?

    [/FONT][FONT=&quot]พุทธดำรัสตอบ [/FONT][FONT=&quot]“.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษโยนทุนมีบ่วงตาเดียวไปในมหาสมุทร[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ทุนนั้นถูกลมตะวันออกพัดไปทางทิศตะวันตก ถูกลมตะวันตกพัดไปทางทิศตะวันออก[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ถูกลมเหนือพัดไปทางทิศใต้ ถูกลมใต้พัดไปทางทิศเหนือ มีเต่าตาบอดอยู่ในมหาสมุทรนั้น[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ล่วงไปร้อยปีจึงจะผุดขึ้นครั้งหนึ่ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน [/FONT][FONT=&quot]? [/FONT][FONT=&quot]เต่าตาบอดตัวนั้น จะพึงเอาคอสวมเข้าที่ทุ่นมีบ่วงตาเดียวโน้นได้บ้างไหมหนอ[/FONT][FONT=&quot] ?
    “[/FONT][FONT=&quot]ภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้เลยพระพุทธเจ้าข้า.....[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ถ้าจะเป็นไปได้ในบางครั้งบางคราว ก็โดยล่วงระยะกาลนานแน่นอน[/FONT][FONT=&quot]
    “.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เต่าตาบอดตัวนั้นจะพึงเอาคอสวมเข้าที่ทุ่นมีบ่วงตาเดียวโน้นได้[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ยังจะเร็วกว่า เรากล่าวความเป็นมนุษย์ที่คนพาลผู้ไปสู่วินิบาต[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]คราวหนึ่งแล้วจะพึงได้ ยังยากกว่านี้ นั่นเพราะเหตุไร ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เพราะในตัวคนพาลนี้ ไม่มีความประพฤติธรรม ความประพฤติสงบ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]การทำกุศล การทำบุญ มีแต่การกินกันเอง การเบียดเบียนคนอ่อนแอ......[/FONT][FONT=&quot]
    “.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นแลถ้าจะมาสู่ความเป็นมนุษย์ในบางครั้งบางคราว[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ไม่วากาลไหน ๆ โดยล่วงระยะกาลนานย่อมเกิดในสกุลต่ำ คือ สกุลคนจัณฑาล[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]หรือสกุลพรานเนื้อ หรือสกุลคนจักสาน หรือสกุลช่างรถ หรือสกุลคนเทขยะเห็นปานนั้นในบั้นปลาย.......[/FONT][FONT=&quot]”
    [/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> พาลปัณฑิตสูตร อุ. ม. (๔๘๑-๔๘๒)
    ตบ. ๑๔ : ๓๑๙-๓๒๐ ตท. ๑๔ : ๒๗๔-๒๗๕

    ตอ.
    MLS. III : ๒๑๔-๒๑๕
     
  2. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]ทำดีด้วยความหวังและไม่หวัง[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]ปัญหา บางคนกล่าวว่าในการทำความดีไม่ควรตั้งความหวังไว้[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]จึงจะได้ผล แต่อีกคนหนึ่งกล่าวว่าควรตั้งความหวังไว้จึงจะได้ผล[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]พระผู้มีพระภาคทรงเห็นอย่างไรในเรื่องนี้ [/FONT][FONT=&quot]?

    [/FONT][FONT=&quot]พุทธดำรัสตอบ [/FONT][FONT=&quot]“.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภูมิชะ ก็สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ที่มีทิฐิผิด มีสังกัปปะผิด มีวาจาผิด มีกัมมันตะผิด มีอาชีวะผิด[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มีวายามะผิด มีสติผิด มีสมาธิผิด ถ้าแม้ทำความหวังแล้ว ประพฤติพรหมจรรย์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล ถ้าแม้ไม่ทำความหวังแล้ว ประพฤติพรหมจรรย์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เขาก็ไม่สามารถสามารถจะบรรลุมรรคผล ถ้าแม้ทำความหวังและไม่ทำความหวังประพฤติพรหมจรรย์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุมรรคผล..... นั่นเพราะอะไร ดูก่อนภูมิชะ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เพราะเขาไม่สามารถจะบรรลุผลได้โดยอุบายไม่แยบคาย[/FONT][FONT=&quot]
    “.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภูมิชะ เปรียบเหมือนบุรุษต้องการน้ำมัน....[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เกลี่ยทรายลงในรางแล้วคั้นไป เอาน้ำพรมไป ๆ ถ้าแม้ทำความหวัง......[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เขาก็ไม่สามารถจะได้น้ำมัน ถ้าแม้ไม่ทำความหวัง..... เขาก็ไม่สามารถจะได้น้ำมัน[/FONT][FONT=&quot]
    “.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภูมิชะ ส่วนสมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ที่มีทิฐิชอบมีสังกัปปะชอบ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มีวาจาชอบ มีกัมมันตะชอบ มีอาชีวะชอบ มีวายามะชอบมิสติชอบ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มีสมาธิชอบ ถ้าแม้ทำความหวังแล้วประพฤติพรหมจรรย์ เขาก็สามารถบรรลุผล[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ถ้าแม้ไม่ทำความหวังประพฤติพรหมจรรย์ เขาก็สามารถบรรลุผล[/FONT][FONT=&quot]
    “.....[/FONT][FONT=&quot]ดูก่อนภูมิชะ เปรียบเหมือนบุรุษต้องการน้ำมัน.....[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เกลี่ยงาป่นลงในรางแล้วคั้นไป...... ถ้าแม้ทำความหวัง......[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เขาก็สามารถได้น้ำมัน ถ้าแม้ไม่ทำความหวัง..... เขาก็สามารถ[/FONT]
     
  3. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> 038 ก่อนทำ พูด คิด ควรทำอย่างไร

    ปัญหา ก่อนแต่จะทำ จะพูด จะคิดก็ดี ขณะที่กำลังทำ กำลังพูด กำลังคิดอยู่ก็ดี พระผู้มีพระภาคทรงแนะนำไว้อย่างไร
    ?

    พุทธดำรัสตอบ
    “..... ดูก่อนราหุล เธอปรารถนาจะทำกรรมใด ด้วยกาย.... ด้วยวาจา... ด้วยใจ... เธอพึงพิจารณาเสียก่อนว่า เราปรารถนาจะทำกรรมนี้ด้วยกาย... ด้วยวาจา.... ด้วยใจ กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม... ของเรานี้ พึงเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เพื่อเบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เพื่อเบียดเบียนทั้งตนทั้งผู้อื่นบ้าง กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม... นี้เป็นอกุศล มีทุกข์ เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบากกระมังหนอ ดูก่อนราหุล ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่พึงรู้อย่างนี้ว่า เราปรารถนาจะทำกรรมใดด้วยกาย.... ด้วยวาจา... ด้วยใจ กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม...ของเรานี้พึงเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเพื่อเบียดเบียนผู้อื่น เพื่อเบียดเบียนทั้งตนทั้งผู้อื่น ...... เป็นอกุศลมีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบากดังนี้ไซร้ กรรมเห็นปานนี้ เธอไม่พึงทำด้วยกาย ... ด้วยวาจา.... ด้วยใจ.... โดยส่วนเดียว
    “แต่ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่พึงรู้อย่างนี้ว่า เราปรารถนาจะทำกรรมใด ด้วยกาย.... ด้วยวาจา... ด้วยใจ กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม...ของเรานี้ ไม่พึงเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตน เพื่อเบียดเบียนผู้อื่น เพื่อเบียดเบียนทั้งตนทั้งผู้อื่น เป็นกุศล มีสุขเป็นกำไร มีสุขเป็นวิบากดังนี้ไซร้ กรรมเห็นปานนี้ เธอพึงทำด้วยกาย ... ด้วยวาจา.... ด้วยใจ

    “แม้เมื่อเธอกำลังกระทำกรรมด้วยกาย.... ด้วยวาจา..... ด้วยใจ.... ด้วยใจ เธอก็พึงพิจารณากายกรรม.... วจีกรรม.... มโนกรรม.... นั้นแหละว่า เรากำลังกระทำกรรมใดด้วยกาย.... ด้วยวาจา... ด้วยใจ กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม...ของเรานี้ ย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง..... เป็นอกุศล มีทุกข์ เป็นวิบากกระมังหนอ ถ้าเมื่อเธอพิจารณาอยู่ พึงรู้อย่างนี้ว่า..... กายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม...ของเรา ย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เพื่อเบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เธอพึงเลิกกรรมเห็นปานนั้นเสีย แต่ถ้าเธอพิจารณาอยู่พึงรู้อย่างนี้ว่า .... กรรมของเราย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เพื่อเบียดเบียนผู้อื่นบ้าง.... เป็นกุศลมีสุขเป็นกำไร .... เธอพึงเพิ่มกายกรรม... วจีกรรม... มโนกรรม...

    จุฬราหุโลวาทสูตร ม. ม. (๑๒๙-๑๓๑)
    ตบ. ๑๓ : ๑๒๖-๑๓๒ ตท.๑๓ : ๑๑๗-๑๒๑

    ตอ.
    MLS. II : ๘๙

    039 อนิสงส์การเจริญภาวนา

    ปัญหา การอยู่ในโลกอันเต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวายนี้ บุคคลจะต้องได้รับการอบรมจิตพอสมควรจึงจะอยู่ได้อย่างสงบสุข พระผู้มีพระภาคทรงแนะวิธีอบรมจิตไว้อย่างไรบ้าง
    ?

    พุทธดำรัสตอบ
    “..... ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญภาวนา (อบรมจิต) เสมอด้วยแผ่นดินเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญภาวนาเสมอด้วยแผ่นดินอยู่ ผัสสะอันเป็นที่ชอบใจและไม่ชอบใจที่เกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำจิตได้ ดูก่อนราหุล เปรียบเหมือนคนทั้งหลายทิ้งของสะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง คูถบ้าง มูตรบ้าง น้ำลายบ้าง น้ำหนองบ้าง เลือกบ้าง ลงที่แผ่นดิน แผ่นดินจะอึดอัด หรือระอา หรือเกลียดด้วยของนั้น ก็หาไม่ฉันใด เธอจงเจริญภาวนาเสอมด้วยแผ่นดินนั้น ฉันนั้นแล
    “..... ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญภาวนาด้วยน้ำเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญภาวนาเสมอด้วยน้ำอยู่ ผัสสะอันเป็นที่ชอบใจและไม่ชอบใจที่เกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำจิตได้.... เปรียบเหมือนคนทั้งหลายล้างของสะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง ลงในน้ำ..... น้ำจะอึดอัด หรือระอา หรือเกลียดด้วยของนั้น ก็หาไม่.......
    “..... ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญภาวนาด้วยลมเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญภาวนาเสมอด้วยลมอยู่ ผัสสะอันเป็นที่ชอบใจและไม่ชอบใจที่เกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำจิตของเธอได้.... เปรียบเหมือนลม ย่อมพัดต้องของสะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง..... ลมจะอึดอัด หรือระอา หรือเกลียดด้วยของนั้น ก็หาไม่........
    “..... ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญภาวนาด้วยอากาศเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญภาวนาเสมอด้วยอากาศอยู่ ผัสสะอันเป็นที่ชอบใจและไม่ชอบใจที่เกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำจิตได้.... เปรียบเหมือนอากาศไม่ตั้งอยู่ในที่ไหน ๆ........
    “..... ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญเมตตาภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญเมตตาภาวนาอยู่ จักละพยาบาท (ความคิดจองล้าง) ได้ เธอจงเจริญกรุณาภาวนาเถิดเพราะเธอเมื่อเจริญกรุณาภาวนาอยู่ จักละวิหิงสา (ความคิดเบียดเบียน) ได้เธอจงเจริญมุทิตาภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญมุทิตาภาวนาอยู่ จักละอรติ (ความอิจฉาตาร้อน) ได้ เธอจงเจริญอุเบกขาภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญอุเบกขาภาวนาอยู่ จักละปฏิฆะ (ความขุ่นเคือง) ได้ เธอจงเจริญอสุภภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญอสุภภาวนาอยู่ จักละราคะ (ความกำหนัดยินดี) ได้เธอจงเจริญอนิจจสัญญาภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอเจริญอนิจจสัญญาภาวนาอยู่จักละอัสมิมานะ (ความถือตัวว่าเป็นเรา) ได้”

    มหาราหุโลวาทสูตร ม. ม. (๑๔๐-๑๔๕)
    ตบ. ๑๓ : ๑๓๘-๑๔๐ ตท.๑๓ : ๑๒๖-๑๒๘

    ตอ.
    MLS. II : ๙๔-๙๖
     
  4. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    มีผู้ที่มีปัญหามาปรึกษา ถูกนินทา เมื่อเสียงนั้น มากระทบหูของเรา เป็นสิ่งที่เราไม่พึงพอใจ เราก็เป็นทุกข์ ทุกข์นั้นมาจาก คนที่พูดซึ่งเราก็ไม่รู้ว่้า เค้าคิดอย่างไร ดีหรือไม่ มาจากหูเราได้ยินสิ่งที่เค้าพูด และนำมาโยนิโสมนสิการ พิจารณาว่าสิ่งที่เค้าพูด ๆ เรา ๆ ไม่ชอบ ไม่พอใจ เราเป็นทุกข์จากที่เรารับเสียงจากคำพูดของเค้ามาพิจารณา
    เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ลองคิดดูให้ดี สิ่งที่ตั้งอยู่นี้ ทำให้เราทุกข์ก็ได้ สุขก็ได้ นานแค่ไหนหละ เรากำหนดได้ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับเรา ล้วนมาจากวิบาก คือผลของกรรม ที่เราได้สร้างเหตุมาแล้วทั้งสิ้น การอโหสิกรรม ไม่จองเวรต่อกัน ไม่พยาบาทกัน อย่างเช่นที่พระเจ้าพรหมทัต มีความพยาบาท จองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านก็มีแต่ความเมตตาให้ ไม่มีจิตคิดจองเวรต่อ ทั้งๆ ที่สิ่งที่ท่านกระทำนั้น ท่านมิได้มีเจตนา ท่านซื้อขาย อย่างซื่อสัตย์ แต่พระเจ้าพรหมทัตที่มีจิตคดโกง ไม่ซื่อสัตย์ เมื่อเสียประโยชน์นั้น ก็แค้นเคือง อธิษฐานขอจองเวรต่อพระพุทธเจ้า ชาติสุดท้ายของพระเจ้าพรหมทัต ตอนที่สำนึกได้ จะไปขอขมาพระพุทธเจ้า แต่ไม่ได้พบ ถูกพระธรณีสูบ แต่ก็อธิษฐานถวายอวัยวะในร่ายกายที่เหลือ ต่อองค์สมเ็ด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อเป็นพุทธบูชา
     
  5. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    กรรมที่เราสร้างเหตุไว้แล้ว ไม่ว่า จะเป็นด้วย ความคิด คำพูด การกระทำ ก็เปรียบได้กับการสร้างเหตุแห่งหนี้ เราสร้างเหตุแห่งหนี้ ถือว่าเราเป็นลูกหนี้ เราต้องใช้คืนเจ้าหนี้ พร้อมดอกเบี้ย ถ้ามี ช้าเร็วจะหมด อยู่ที่ใช้น้อย ใช้มาก ใช้ระยะเวลาแค่ไหน แล้วสร้างเพิ่มอีกหรือไม่
     
  6. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ทาน ศีล สมาธิ ภาวนา ปฏิบัติบ่อย ๆ สร้างเกราะคุ้มครองให้ตนเองไว้ เสื้อเกราะจะบาง จะหนา ป้องกัน ธนู หอก ดาบ อาวุธมีคม ได้หรือไม่ อยู่ที่เราสร้างเอง
    เหตุปัจจัยที่กระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ล้วนเป็นเหตุให้เราสร้างกุศลและอกุศล ได้ทั้งสิ้น เราเลือกทางของเราเองได้
     
  7. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    พระพุทธดำรัสว่าด้วยปฏิจจสมุปบาท
    สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถปิณฑิกเศรษฐี พระนครสาวัตถี ได้ตรัส "ปฏิจจสมุปบาทธรรม" คือ ธรรมอาศัยปัจจัยประชุมกันเกิดขึ้น 12 ประการ ดังต่อไปนี้ (ม.มู.12/448, 450/482-483, 485)

    ตรัสนัยอันเป็นปัจจัยเกิด และ ดับ
    ภิกษุทั้งหลาย ข้อที่กล่าวนั้น ถูกละ พวกเธอกล่าวอย่างนั้น แม้เราก็กล่าวอย่างนั้น
    เมื่อมีสิ่งนี้ สิ่งนี้ก็มี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้ก็เกิดขึ้น คือ
    เพราะ อวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
    เพราะ สังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
    เพราะ วิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
    เพราะ นามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
    เพราะ สฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
    เพราะ ผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
    เพราะ เวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
    เพราะ ตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
    เพราะ อุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
    เพราะ ภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
    เพราะ ชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงมี
    ความเกิดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้อย่างนี้

    เพราะ อวิชชาดับหมดมิได้เหลือ สังขารก็ดับ
    เพราะ สังขารดับ วิญญาณจึงดับ
    เพราะ วิญญาณดับ นามรูปจึงดับ
    เพราะ นามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ
    เพราะ สฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ
    เพราะ ผัสสะดับ เวทนาจึงดับ
    เพราะ เวทนาดับ ตัณหาจึงดับ
    เพราะ ตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ
    เพราะ อุปาทานดับ ภพจึงดับ
    เพราะ ภพดับ ชาติจึงดับ
    เพราะ ชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงดับ
    ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้อย่างนี้

    ตรัสนัยแห่งความดับ
    ภิกษุทั้งหลาย ข้อที่กล่าวนั้น ถูกละ พวกเธอกล่าวอย่างนั้น แม้เราก็กล่าวอย่างนั้น
    เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ก็ดับ คือ

    เพราะ อวิชชาดับ สังขารจึงดับ
    เพราะ สังขารดับ วิญญาณจึงดับ
    เพราะ วิญญาณดับ นามรูปจึงดับ
    เพราะ นามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ
    เพราะ สฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ
    เพราะ ผัสสะดับ เวทนาจึงดับ
    เพราะ เวทนาดับ ตัณหาจึงดับ
    เพราะ ตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ
    เพราะ อุปาทานดับ ภพจึงดับ
    เพราะ ภพดับ ชาติจึงดับ
    เพราะ ชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส จึงดับ
    ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้อย่างนี้
     
  8. staystill

    staystill เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +112
    ดูให้ด้วยคนคะ ชื่อจารุณี พัทซิสเกิด 28 มกราคม 2518 ตี 03.30 อยากรู้เรื่องโชคลาภ ลูก สามี ขอบคุณคะ
     
  9. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าสอนเรื่องโทษของการเป็นชู้[/FONT][FONT=&quot]

    วันหนึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศล ทรงช้างเผือกเสด็จเลียบพระนคร ได้ทอดพระเนตรเห็นหญิงงามนางหนึ่งยืนอยู่ชั้นบนของปราสาท 7 ชั้น ทรงมีพระทัยเสน่หาในนางขึ้นมาทันที พระองค์ได้ทรงพยายามหาวิธีการที่ จะได้นางมาเป็นบาทบริจาริกา เมื่อทรงทราบว่านางเป็นหญิงมีสามีแล้ว ก็ได้มีพระบัญชานำชายผู้เป็นสามีของนางมาเป็นคนใช้อยู่ในพระราชวัง ต่อมาพระองค์ได้รับสั่งชายให้คนนี้เดินทางไปทำงานอย่างหนึ่งอันเป็นงานที่ ไม่มีทางจะ
    ทำได้สำเร็จได้ โดยรับสั่งให้เดินทางไปยังสถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างไกลถึง 12 ไมล์ แล้วให้ไปนำดอกโกมุท ดอกอุบล และดินสีอรุณจากนาคพิภพกลับมาถวายพระองค์ที่กรุงสาวัตถีในเย็นวันเดียวกัน ให้ทันเวลา
    สรงสนานของพระองค์ ทั้งนี้โดยพระองค์มีพระราชประสงค์จะสังหารชายผู้นี้หากเขากลับมาไม่ทันเวลาแล้วริบเอ
    าภรรยาของเขามาเป็นบาทบริจาริกาของพระองค์


    ชายผู้เป็นสามีรีบไปนำกล่องอาหารจากภรรยาแล้วออกเดินทางไปแสวงหาสิ่งที่พระราชาทรงต้
    องการ ใน ทันที ในระหว่างทางเขาได้แบ่งอาหารให้แก่เพื่อนร่วมทาง และเขาก็ยังแบ่งข้าวจำนวนหนึ่งโยนลงไปเลี้ยงปลาในน้ำ แล้วร้องตะโกนขึ้นว่า “ข้าแต่เทพยาและนาคทั้งหลายผู้สถิตอยู่ในแม่น้ำแห่งนี้ พระราชาปเสนทิโกศลมีพระราชบัญชาให้ข้าพเจ้าไปนำดอกโกมุท กอกอุบล และดินสีอรุณกลับไปถวายพระองค์ วันนี้ข้าพเจ้าได้แบ่งปันอาหารให้แก่เพื่อนร่วมทางของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าก็ยังได้นำอาหารเลี้ยงปลาในแม่น้ำแล้วด้วย บัดนี้ข้าพเจ้าขอแบ่งส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่พวกท่านทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายจงได้เมตตาไปนำดอกโกมุท ดอกอุบล และดินสีอรุณมาให้ข้าพเจ้าด้วยเถิด” พระยานาคเมื่อได้ยินคำประกาศของชายผู้นั้นแล้ว ก็ได้แปลงร่างเป็นชายชราไปนำดอกโกมุท ดอกอุบลและดินสีอรุณมาให้ชายผู้นั้น


    ใน เย็นวันนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงเกรงว่าชายหนุ่มอาจจะกลับมาทันเวลา จึงได้มีรับสั่งให้ปิดประตูเมืองก่อนกำหนด เมื่อชายหนุ่มเดินทางมาถึงและพบว่าประตูเมืองปิดเช่นนั้น ก็ได้โยนดินอรุณไว้บนกำแพงเมืองและแขวนดอกโกมุทและดอกอุบลไว้บนธรณีประตู จากนั้นเขาได้ตะโกนประกาศออกมาดังๆว่า “ชาวเมืองผู้เจริญทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลาบจงรับทราบเถิดว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากพระราชาสำเร็จลุล่วงแล้ว พระราชาทรงมีแผนที่จะฆ่าข้าพเจ้าด้วยเหตุไม่สมควร” หลังจากนั้นชายหนุ่มก็เดินทางจากประตูวังไปที่วัดพระเชตวันเพื่อจะลี้ภัยและ ก็พบว่าบ
    รรยากาศในวัดมีความสงบร่มรื่นดียิ่งนัก

    ขณะเดียวกัน ข้างพระเจ้าปเสนทิโกศล มีความกระสันด้วยแรงกามราคะ จนไม่สามารถหลับพระเนตรลงได้ ทรงครุ่นคิดหาวิธีที่จะสังหารชายหนุ่มในตอนเช้าแล้วยึดภรรยาของเขามาเป็นบาท บิจาริกา
    ของพระองค์ เมื่อถึงเที่ยงคืนพระองค์ก็ได้สดับเสียงประหลาดว่า ทุ. ส. น. โส. ซึ่งความจริงแล้วเป็นเสียงของพวกเปรต 4 ตนที่เสวยทุกข์ทรมานอยู่ในนรกชั้นโลหกุมภี เมื่อได้ทรงสดับเสียงประหลาดนี้แล้วก็ทรงมีพระทัยหวาดหวั่น เมื่อรุ่งอรุณของวันใหม่พระองค์ได้ทรงสอบถามปุโรหิตถึงเรื่องนี้ ปุโรหิตได้ทูลว่าจะเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตแก่พระองค์ จะต้องหาทางแก้ด้วยการบูชายัญ แต่ต่อมาพระองค์ได้เสด็จไปเข้าเฝ้าพระศาสดาโดยคำกราบทูลของพระนางมัลลิการาช เทวี เมื่อพระศาสดาสดับเรื่องเสียงประหลาดเหล่านั้นแล้ว ทรงอธิบายแก่พระราชาว่าเป็นเสียงของเปรต 4 ตนที่เกิดอยู่ในโลหกุมภีนรก เปรต 4 ตนเหล่านี้เคยเกิดเป็นชายหนุ่มลูกเศรษฐีในสมัยพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ และได้ตกนรกชั้นโลหกุมภีเพราะประกอบกรรมชั่วเป็นชู้สู่สมกับภรรยาของชายอื่น พระราชาสดับแล้วก็เกิดความสังเวชพระทัยและทรงเกิดความตระหนักถึงผลกรรมชั่ว ร้ายที่จะ
    บังเกิดจากการเป็นชู้กับภรรยาของผู้อื่น และตัดสินพระทัยว่า “จำเดิมแต่นี้ไป เราจักไม่ผูกความพอใจในภรรยาของชายอื่น” เพราะว่า “แค่เราได้แต่คิดว่าจะเป็นชู้กับ ภรรยาของคนอื่นก็มีความทุกข์ทรมานใจจนนอนไม่หลับ ตลอดทั้งคืน” จากนั้นพระราชาได้กราบทูลพระศาสดาว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ทราบความที่ราตรียาวนานในวันนี้”

    ข้างชายหนุ่มที่นั่ง อยู่ไม่ไกลจากที่นั้น ได้กราบพระศาสดาว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระราชาทรงทราบความที่ราตรียาวนานในวันนี้ ส่วนข้าพระองค์เองได้ทราบความที่หนทางแค่โยชน์เดียวไกลมากในวันวาน”

    พระศาสดาทรงนำถ้อยคำของพระราชาและของชายหนุ่มนั้นมาผสมผสานกัน แล้วตรัสพระธรรมบท พระคาถาที่ 60 ว่า

    ทีฆา ชาครโต รตฺติ
    ทีฆํ สนฺตสฺส โยชนํ
    ทีโฆ พาลาน สํสาโร
    สทฺธมฺมํ อวิชานตํฯ

    กลางคืนยาวนานมาก สำหรับคนที่นอนไม่หลับ
    ระยะทางแค่โยชน์เดียวไกลมาก
    สำหรับที่เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าแล้ว
    สังสารวัฏ(การเวียนว่ายตายเกิด) เนิ่นนานมาก
    สำหรับคนพาลที่ไม่รู้สัจธรรม.


    เมื่อ จบพระสัทธรรมเทศนา ชายหนุ่มได้บรรลุพระโสดาปัตติผล ชนเหล่าอื่นอีกเป็นจำนวนมาก ก็ได้บรรลุพระอริยผลทั้งหลาย มีพระโสดาปัตติผลเป็นต้น พระสัทธรรมเทศนามีประโยชน์แก่มหาชนแล้ว.[/FONT]
     
  10. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าสอนเรื่องการพูดไว้อย่างไร[/FONT][FONT=&quot][/FONT]

    [FONT=&quot]Posted on[/FONT][FONT=&quot] เมษายน 22, 2009 by abwind [/FONT]
    [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าสอนเรื่องการพูดไว้อย่างไร : อภัยราชกุมารสูตร [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่มีประโยชน์ [/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]และวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ตถาคตไม่กล่าววาจาเช่นนั้น[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่จริง แท้ แต่ไม่มีประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]และวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ตถาคตไม่กล่าววาจาเช่นนั้น[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่จริง แท้ มีประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ในข้อนี้ตถาคตย่อมรู้กาลที่พูด[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่มีประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ตถาคตไม่กล่าววาจาเช่นนั้น[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่จริง แท้ ไม่มีประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ตถาคตไม่กล่าววาจาเช่นนั้น[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]วาจาที่จริง แท้ มีประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]
    [FONT=&quot]และวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ในข้อนั้นตถาคต ย่อมรู้กาลที่จะพูด[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะตถาคตมีความเอ็นดูในสัตว์ทั้งหลาย [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]พุทธพจน์ ว่าด้วยรัก[/FONT][FONT=&quot][/FONT]

    [FONT=&quot]จากหนังสือ เหตุสมควรโกรธ..ไม่มีในโลก[/FONT][FONT=&quot][/FONT]

    [FONT=&quot]พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
     
  11. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    เกิดเป็นเปรตกินอุจจาระ เพราะ ปากเสีย สังคมปัจจุบันมีการใส่ร้ายป้<wbr>ายสีกันมาก



    [​IMG]
    สังคมปัจจุบันมีการใส่ร้ายป้<wbr>ายสี กันมาก ไม่ว่าจะเป็นผู้แทนของประชาชนก็<wbr>ตาม จนทำให้สังคมเกิดความสับสันว่<wbr>าอะไรคือความจริง ความเท็จ รวมทั้งผู้ใหญ่ในบ้านเมืองที่มั<wbr>กพูดคำหยาบ คำส่อเสียด คำเพ้อเจ้อ ซึ่งเป็นเรื่องที่ผิดศีล เพราะฉะนั้นทุกคนจึงต้องระมั<wbr>ดระวังคำพูดให้มาก ผู้ไม่สำรวมระวังในการพูด ตายแล้วจะไปเกิดเป็นเปรต ดังตัวอย่างในครั้งพุทธกาล เรื่องมีอยู่ว่า

    ภิกษุประมาณ ๑๒ รูป หลังจากเรียนกรรมฐานกับพระพุ
    <wbr>ทธเจ้าแล้ว ก็เดินทางไปแสวงหาสถานที่ที่<wbr>เหมาะสำหรับการปฏิบัติธรรมตอนช่<wbr>วงใกล้จะเข้า พรรษา ได้พากันเดินทางไปถึงป่าแห่งหนึ<wbr>่งซึ่งน่ารื่นรมย์ และอยู่ไม่ไกลจากหมู่บ้านเท่<wbr>าใดนัก จึงพากันปักกลดปฏิบัติธรรมอยู่<wbr>ในป่านั้น หนึ่งคืน รุ่งเช้าก็ออกไปบิณฑบาตในหมู่บ้<wbr>าน

    ช่างหูก ๑๑ คน ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านนั้น เมื่อเห็นพระมาบิณฑบาตในหมู่บ้
    <wbr>าน ก็เกิดความปีติยินดี จึงนิมนต์เข้ามา ที่บ้าน แล้วถวายภัตตาหารอันประณีต และเรียนถามว่า พระคุณเจ้าจะไปที่ไหน เมื่อบรรดาภิกษุบอกว่ากำลั<wbr>งแสวงหา ที่เหมาะๆ สำหรับการปฏิบัติธรรม พวกช่างหูกจึงได้นิมนต์ภิกษุทั้<wbr>งหลายให้อยู่จำพรรษา ในหมู่บ้าน และพากันสร้างกระท่อมในป่าถวาย พวกภิกษุทั้งหมดจึงได้<wbr>จำพรรษาอยู่ ณ ที่นั้น

    ในบรรดาช่างหูกเหล่านั้น หัวหน้าช่างหูกได้รับอุปัฏฐากภิ
    <wbr>กษุ ๒ รูป ด้วยความยินดียิ่ง ส่วนช่างหูกคนอื่นๆได้ อุปัฏฐากภิกษุคนละรูป ฝ่ายภรรยาหัวหน้าช่างหูก เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ไม่มีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา เป็นมิจฉา-ทิฏฐิ มีความตระหนี่ ไม่สนใจ ที่จะอุปถัมภ์ภิกษุเลย ดังนั้น หัวหน้าช่างหูกจึงได้พาน้<wbr>องสาวของภรรยามาอยู่ด้วย เพราะนางเป็นผู้มีศรัทธา มีความเลื่อมใส นางได้ ปรนนิบัติภิกษุทั้งหลายด้<wbr>วยความยินดียิ่ง ช่างหูกทุกคนพร้อมภรรยาได้<wbr>ถวายผ้าสาฎกแก่ภิกษุผู้อยู่<wbr>จำพรรษารูปละผืน ยกเว้นภรรยาของหัวหน้าช่างหูก ซึ่งได้ด่าสามีของตนว่า

    “ทานที่ท่านถวายแก่พวกพระสงฆ์ จะเป็นข้าว เป็นน้ำก็ดี จงบังเกิดเป็นอุจจาระ ปัสสาวะ เป็นหนองและเลือดแก่ท่
    <wbr>านในโลกหน้า ผ้าสาฎกก็จงเป็นแผ่นเหล็กร้อนลุ<wbr>กโพลงเถิด”

    ต่อมาหัวหน้าช่างหูกตายลง และไปเกิดเป็นรุกขเทวดา ในป่า ที่พวกพระมาปฏิบัติธรรม แต่ภรรยาที่ปากพล่อย เมื่อตายแล้วไปเกิดเป็นนางเปรต อยู่ไม่ไกลจากที่อยู่ของ รุกเทวดาเท่าใดนัก นางเปรต นั้นอยู่ในสภาพเปลือยกาย รูปร่างขี้ริ้วขี้เหร่ มีความหิวกระหายอยู่ตลอดเวลา นางเปรตได้เดินไปหารุกขเทวดาแล้
    <wbr>วบอกว่า

    “นาย.. ฉันไม่มีผ้านุ่งและหิ
    <wbr>วกระหายเหลือเกิน ขอผ้านุ่ง ข้าว และน้ำให้ฉันหน่อยเถิด”

    รุกขเทวดาจึงได้ให้ ข้าวและน้ำอันเป็นทิพย์แก่
    <wbr>นางเปรต แต่สิ่งของต่างๆ อันเป็นทิพย์ที่รุกขเทวดาได้ให้<wbr>แก่นางไปนั้น ได้กลับกลายเป็นอุจจาระ เป็นหนอง และเลือด ผ้านุ่งก็กลาย เป็นแผ่นเหล็กร้อนลุกโพลงอยู่<wbr>ตลอดเวลา!! นางเปรตจึงร้องไห้คร่ำครวญด้<wbr>วยทุกข์อย่างมหันต์

    ขณะนั้นมีภิกษุรูปหนึ่ง หลังจากออกพรรษาแล้ว ก็เดินทางไปเฝ้าพระพุทธเจ้า โดยอาศัยไปกับหมู่เกวียนหมู่
    <wbr>ใหญ่ พวกหมู่เกวียนได้เดินทางทั้<wbr>งกลางวันและกลางคืน เมื่อไปถึงป่าแห่งนั้นตอนกลางวั<wbr>น เห็นความอุดมสมบูรณ์ของป่า มีร่มเงาเย็นสบาย จึงปลดเกวียนแล้วนั่งพักอยู่ใต้<wbr>ร่มไม้ ฝ่ายภิกษุก็แยกไปหาที่สงบ ปูผ้าลงที่ใต้ต้นไม้อันร่มรื่น กะว่าจะนอนพักสักครู่ แต่จู่ๆ ก็ม่อยหลับไป เพราะเหน็ดเหนื่อย จากการเดินทางมาตลอดทั้งคืน ส่วนหมู่เกวียนพอพักจนหายเหนื่<wbr>อยแล้วก็ออกเดินทางต่อ โดยลืมภิกษุที่มาด้วยกัน ซึ่งหลับอยู่ใต้ร่มไม้

    ภิกษุรูปนั้นหลับไปจน กระทั่งเย็น เมื่อตื่นขึ้นมาไม่เห็น ใคร จึงออกเดินทางต่อไปเรื่อยๆ เพียงลำพัง จนกระทั่งไปถึงต้นไม้ที่เทวดาสิ
    <wbr>งสถิตอยู่ ฝ่ายรุกขเทวดาเห็นภิกษุเดินมุ่<wbr>งหน้ามาที่ต้นไม้ ก็แปลงร่างเป็นคนธรรมดาเข้<wbr>าไปไหว้ และนิมนต์ให้เข้าไปพักใต้ต้นไม้<wbr>อันเป็นวิมานของตน ถวายยาทาแก้ปวดเมื่อยแก่ท่าน

    ขณะเดียวกันนั่นเอง นางเปรตผู้มีความหิวโหยก็เข้
    <wbr>ามาขอข้าว น้ำ และเสื้อผ้า รุกขเทวดาก็ได้ให้ตามที่ขอ แต่พอนางรับไป ทุกอย่างก็กลับกลายเป็นอุจจาระ ปัสสาวะ หนอง เลือด และแผ่นเหล็กร้อนอันลุกโชน เหมือนที่เคยเป็นมา ฝ่ายภิกษุเห็นเหตุการณ์นั้นจึ<wbr>งเกิดความสลดสังเวชใจเป็นยิ่งนั<wbr>ก จึงถามรุกขเทวดาว่า

    “หญิงเปรตนี้กินอุจจาระ ปัสสาวะ เลือด และหนองเช่นนี้ เพราะได้ทำกรรมอะไรไว้หรือ? ผ้าผืนใหม่ที่สวยงาม อ่อนนุ่ม บริสุทธิ์ มีขนอ่อนที่ท่านมอบให้แก่หญิงผู
    <wbr>้นี้ ทำไมจึงกลายเป็น แผ่นเหล็กร้อนไปได้”

    รุกขเทวดาได้เล่าให้ภิกษุรูปนั้
    <wbr>นฟังว่า เมื่อก่อนหญิงเปรต นี้เป็นภรรยาของตน นางเป็นคนตระหนี่ไม่รู้จักให้<wbr>ทาน และได้ด่าทอตอนที่ตนกำลังทำบุ<wbr>ญอยู่ กรรมนี้เองทำให้นางมาเกิดเป็<wbr>นเปรตกินแต่อุจจาระ ปัสสาวะ เลือดและหนอง ทนทุกข์ทรมานอยู่อย่างนี้<wbr>นานแสนนาน

    พอรุกขเทวดาเล่าบุพกรรม ของนางเปรตที่ได้กระทำไว้ในชาติ
    <wbr>ก่อน ให้พระภิกษุฟังแล้ว จึงได้ถามว่าทำอย่างไรนางนี้จึ<wbr>งจะพ้นจากการเป็นเปรต ภิกษุจึงได้บอกวิธีการที่จะทำ ให้กรรมชั่วของนางเปรตหมดไปว่า

    “ถ้าท่านอยากให้นางเปรต นี้พ้นจากกรรมชั่ว ท่านก็จงทำบุญถวายทานแก่พระพุ
    <wbr>ทธเจ้า และแก่พระอริยสงฆ์ หรือแก่ภิกษุสักรูปหนึ่ง แล้วอุทิศให้แก่นางเปรตนี้ เมื่อนางเปรต นี้อนุโมทนากับบุญที่ท่านทำ นางก็จะได้บุญและพ้นจาก ความทุกข์ทรมานได้”

    เมื่อรุกขเทวดาทราบวิธีช่วยเหลื
    <wbr>อนางเปรตแล้ว จึงได้ถวายภัตตาหารอันประณีตแก่<wbr>ภิกษุรูปนั้น แล้วอุทิศบุญให้แก่นางเปรตอดี<wbr>ตภรรยา ทันทีที่นางเปรตอนุโมทนาบุญ จิตใจก็อิ่มเอิบ ร่างกายกระปรี้กระเปร่า ท้องก็อิ่มด้วยอาหาร อันเป็นทิพย์ ต่อมารุกขเทวดาได้ถวายผ้าทิพย์ เพื่ออุทิศบุญกุศลให้แก่<wbr>นางเปรตอีก นางเปรตก็ได้นุ่งผ้าทิพย์พร้อม เครื่องประดับอันเป็นทิพย์<wbr>ในขณะนั้นนั่นเอง เมื่อนางเปรต ได้สิ่งที่อยากได้ทุกอย่างแล้ว ร่างที่น่าเกลียดน่ากลัวก็กลาย เป็นสวยงามประดุจนางเทพอัปสร เพราะอานุภาพแห่งบุญ นั้นนั่นเอง
    ........
    หากไม่มีบุญที่คนอื่นทำ อุทิศไปให้ นางเปรตคงต้องทุกข์ ทรมานไปอีกนานแสนนานกว่าจะพ้
    <wbr>นจากความทุกข์ เมื่อเป็น เช่นนี้ คนที่ยังมีชีวิตอยู่จึงไม่<wbr>ควรประมาท ต้องรีบขวนขวาย ทำความดีให้มาก ไม่เช่นนั้นจะต้องไปชดใช้กรรม ทนทุกข์ทรมานอยู่อย่<wbr>างนางเปรตแน่นอน

    ยุคปัจจุบันมีคนจำนวน มากที่ไม่กลัวบาปกรรม เพราะคิดว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มี<wbr>อยู่จริง จึงดำเนินชีวิตด้วยความประมาท กล้าทำความชั่วอย่างไม่ละอาย มีจิตใจหยาบกระด้าง คิด ไม่ถึงว่ากรรมชั่วนั้นจะย้อนกลั<wbr>บมาหาตนเอง ทำให้ต้องเดือดร้อนในภายหลัง ผู้มีปัญญาจึงควรมองถึ<wbr>งผลในระยะยาว มองชีวิตทั้งระบบทั้งกระบวน ชีวิตของเราไม่ได้สิ้นสุดเพี<wbr>ยงชาตินี้ แต่ต้องดำเนินต่อไปเรื่อยๆ ความดีความชั่วที่ทำไว้แล้ว ไม่มีสูญหาย ต้องตามให้ผลแก่ผู้ทำอย่างแน่<wbr>นอน แต่อย่างน้อยคนที่ทำความดีก็ย่<wbr>อมจะได้ผลดีตอบแทนทันทีทั<wbr>นใดในขณะที่ทำ นั่นก็คือทำให้เกิดความสุขใจขึ้<wbr>นมาทันที ในทางตรงกันข้าม คนที่ทำชั่วก็จะได้รั<wbr>บความกระวนกระวายใจ ความทุกข์ใจในทันทีที่ทำความชั่<wbr>ว ผู้มีปัญญาจึง ควรละกรรมชั่วทั้งหลายให้ได้อย่<wbr>างสิ้นเชิง เพราะจะทำให้ชีวิตมีแต่ความสุ<wbr>ขความเจริญตลอดไป
     
  12. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]วิบากกรรมของพระพุทธเจ้า[/FONT]

    [​IMG][FONT=&quot]เขียนโดย พระพุทธศาสนา.[/FONT]com
    แม้องค์สมเด็จ สัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้พระอนุตรสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว กรรมในปุเรนชาติก็ยังติดตามให้ผลจนถึงวาระสุดท้ายก่อนดับขันธปรินิพพาน ดังที่ตรัสเล่าไว้ใน พุทธปาทาน ว่า
    "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงฟังถึงกรรมที่เราได้กระทำไว้แล้ว"
    เราเห็นภิกษุผู้อยู่ป่ารูปหนึ่ง จึงได้ถวายผ้าท่อนเก่า ในกาลนั้นเราปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก ผลแห่งกรรมอันเนื่องด้วยผ้าท่อนเก่านั้น ได้สำเร็จแม้ในความเป็นพระพุทธเจ้า
    เราเคยเป็นนักเลงสุราชื่อ ปุนาลิ ในชาติก่อน ๆ ได้กล่าวใส่ความพระปัจเจกพุทธเจ้าพระนามว่า สุรภี ผู้มิได้ทุษร้าย ผลแห่งกรรมนั้น เราจึงท่องเที่ยวไปในนรกสิ้นกาลนาน เสวยทุกขเวทนาสิ้นพันปีเป็นอันมาก ด้วยกรรมที่เหลือนั้น ในภพสุดท้ายนี้ก็ถูกใส่ความ เพราะเหตุนางสุนทริกา
    ในกาลก่อนเราได้เคยฆ่าน้องชายต่างมารดา ด้วยเหตุแห่งทรัพย์ ผลักลงในซอกเขาเอาหินทุ่ม ด้วยผลแห่งกรรมนั้น เทวทัตจึงเอาหินทุ่มเราสะเก็ดหินมาถูกหัวแม่เท้าเรา
    เราเคยเป็นเด็กในหมู่บ้านชาวประมง เห็นชาวประมงฆ่าปลา ก็มีความชื่นชอบ ด้วยผลแห่งกรรมนั้น เราจึงเกิดการเจ็บที่ศรีษะ
    เราเป็นผู้มีชื่อว่า โชติปาละ ได้เคยกล่าวกับพระสุคตพระนามกัสสปะว่า การตรัสรู้เป็นได้โดยยาก ท่านจะได้จากต้นไม้ที่ไหนกัน ด้วยผลแห่งกรรมนั้น เราได้บำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นอันมาก สิ้นเวลา 6 ปี ต่อจากนั้นจึงได้บรรลุการตรัสรู้ เรามิได้บรรลุการตรัสรู้โดยตรง ได้แสวงหาไปในทางที่ผิด เพราะถูกกรรมเก่าทวงเอา
    เราสิ้นบุญสิ้นบาปแล้ว เว้นแล้วแต่จากความเดือดร้อนทั้งปวง ไม่มีความโศก ไม่มีความคับแค้น ปราศจากอาสวะ จักปรินิพพาน
    เราจะเห็นได้ว่าแม้องค์สมเด็จ สัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นบรมศาสดาของเรา ก็ยังมิอาจหลีกเลี่ยงผลของกรรมที่ตนได้กระทำไว้ แม้ยินดีในการฆ่าปลาของเขา ยังต้องรับผลมโนกรรมนั้นด้วยการปวดศรีษะ แม้ได้กล่าวร้ายต่อผู้อื่นไว้ก็จะต้องถูกใส่ร้ายในชาตินี้ กรรมสนองกรรมจึงเป็นกลไกที่สลับซับซ้อนเกินกว่าจะคิดถึง
    อิทธิฤทธิ์ก็ยังแพ้กรรม แม้จะมีฤทธิ์อำนาจขนาดไหน ก็ไม่มีใครหนีกฏแห่งกรรมพ้นได้ เช่น พระโมคคัลลานะ อัครสาวกฝ่ายซ้าย อรหันต์ผู้เรืองฤทธิ์ ขนาดม้วนแผ่นดิน ยกภูเขาทั้งลูกได้ สามารถเหาะไปเที่ยวสวรรค์หรือนรกได้ ประสานกระดูกที่แตกหักให้ติดกันได้ ก็ยังถูกวิบากกรรมติดตามทวงเอาในปั้นปลายชีวิต
    สมัยที่ท่านมีชาติกำเนิดเป็นชาวบ้าน พ่อแม่ตาบอดทั้งสองข้าง แต่ท่านยังตาบอดยิ่งกว่าทั้งที่ตาดี เพราะหลงเมียจนลืมพระคุณพ่อแม่ ด้วยเหตุที่เมียรังเกียจพ่อแม่ที่ตาบอด จึงแสร้งหาเหตุใส่ร้ายป้ายสีต่าง ๆ นา ๆ แล้วตีอกชกตัวเองร่ำไห้ฟ้องสามี และแนะนำให้พาพ่อแม่ที่ตาบอดไปฆ่าทิ้งในป่า ทิ้งร้างให้สัตว์ร้ายกิน เหมือนหนึ่งว่าสัตว์ทำร้ายถึงแก่ชีวิต ฝ่ายสามีก็หลงเชื่อ นำพ่อแม่ขึ้นเกวียนทำทีไปทำกิจที่อื่น พอถึงกลางป่าก็ทำเป็นเสียงโจรเข้าปล้น แล้วลงมือทุบตีพ่อแม่หมายให้ตายอแทนที่พ่อแม่จะร้องให้ลูกช่วย กลับบอกให้ลูกไปเสียไม่ต้องเป็นห่วง เพราะตนเองก็ตาบอด ส่วนลูกยังมีภาระครอบครัวที่จะต้องรับผิดชอบอยู่ จงหนีไปเสีย ทำให้ท่านฆ่าไม่ลง ทำทีเป็นขับไล่โจรให้หนีไป กลับนำพ่อแม่มาเลี้ยงดูตามเดิม
    ผลจากกรรมนั้นทำให้ท่านถูกทุบตีตายมาถึงห้าร้อยชาติ ดีแต่ว่ายังไม่พลั้งมือทำร้ายพ่อแม่ถึงตาย ถือเป็นอนันตริยกรรม คือห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน เพราะยั้งมือไว้ทันไม่ได้ถึงขั้นฆ่า นำลับมาเลี้ยงดูตามเดิม จึงทำให้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ในชาติสุดท้าย เข้าสู่พระนิพพานได้ แต่ก็ถูกโจรป่ารุมทำร้ายกระดูกแหลกละเอียด และเข้าใจว่าท่านตายก็เลยทิ้งไว้ในป่า ท่านก็อาศัยอิทธิฤทธิ์ประสานกระดูกร่างกายขึ้นมาใหม่ ไป ๆ มา ๆ ก็พบโจรเหล่านี้อีก มันก็ทำร้ายท่านอีกเหมือนเดิม จนเกิดขึ้นในครั้งที่ 3 ท่านจึงอดแปลกใจไม่ได้ว่า บุพกรรมใดหนอท่านจึงต้องถูกโจรเหล่านี้ทุบตีทำร้ายท่าน จนได้รู้ความจริงในอดีต จึงประสานกายขึ้นมามาใหม่ แล้วเหาะไปทูลลาพระพุทธเจ้าเข้าสู่พระนิพพาน
    ดังนั้นเมื่อกรรมจะเริ่มให้ผลก็จะมีการ เตือนกันล่วงหน้า โดยแสดงอาการผิดปกติทางจิตใจหรือทางกายให้เริ่มปรากฏ และเมื่อมันปรากฏแล้วก็ต้องรีบศึกษาทำความเข้าใจ วิเคราะห์ให้ชัดเจน เพื่อที่จะได้แก้ไขได้ทันท่วงที ไม่ใช่ปล่อยตามยถากรรม จนถูกรุมเร้าดิ้นไม่ออก ส่วนวิธีการนั้นจะได้แนะนำกันในโอกาสต่อไป


    คบคนพาล พาไปหาผิด คบบัณฑิต พาไปหาผล
    คนพาลนั้น อย่างไร ก็เห็นแ่ก่ตนเองเป็นหลัก ผู้อื่นจะเดือดร้อนอย่างไรไม่ใส่ใจ ขอให้ตนเองไม่เดือดร้อน มีความสุข บนความทุกข์ผู้อื่น


    ตัว กู ของกู ที่ท่านพุทธทาส กล่าวไว้นั้น เรื่องของตัวกู ปัญหาของตัวกู อันดับที่หนึ่ง ถ้าไม่ใช่ของตัวกู อันดับหลัง เงินก็ของตัวกู อำนาจก็ของตัวกู ความสะดวก ความสบาย ก็ต้องของตัวกู
    ความเมตตา ความกรุณา ไม่มีในจิตใจของคนพาล องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสคำสอนให้ คบแต่บัณฑิต อย่าได้คบคนพาล


    [FONT=&quot]ผู้ที่กระ้ทำผิดศีล ผู้อื่นไม่เห็น ไม่รู้ สังคมไม่เห็น ไม่รู้ ตัวเราเองเห็น ตัวเรารู้ กรรมเห็น กรรมรู้ หนีอย่างไรก็ไม่พ้น กฏแห่งกรรม สร้างเหตุอย่างไร วิบากผลที่ได้รับก็ตามเหตุที่สร้างนั้น จะเร็ว-ช้า นานวันหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เหมือนดังเช่น การสร้างกุศล ผู้ให้ สิ่งที่ให้ ผู้รับ [/FONT]3[FONT=&quot]สิ่งพร้อม กาย วาจา ใจ[/FONT]
     
  13. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    คงมีหลายคนที่เวลาไม่พอใจ ที่ต้องทำงานเหนื่อย หรือต้องทำแทนคนอื่น หรือต้องทำงานบ้านทั้งหมด โดยไม่มีคนช่วย สิ่งที่กระทบนั้นมาทำให้ เราไม่พึงพอใจ ต่อผู้อื่น เหมือนดังว่า เราเป็นผู้ถูกกระทำ จากบุคคลอื่น และอีกมากมาย หลายอย่าง ทำให้เราเกิดอารมณ์หงุดหงิด โมโห โกรธ แค้น พยาบาท ต่าง ๆ นา นา สารพัด
    แต่ถ้าเรามาพิจารณาว่า นี่เป็นโอกาส และโชคดีของเรา ที่จะได้สร้างบุญ สร้างกุศล เพื่อเพิ่มบารมีให้เรา เมื่อเราเป็นผู้ให้สิ่งใด เราย่อมได้รับสิ่งนั้น สิ่งที่เราทำนั้น เกื้อประโยชน์ แก่ตนเอง แก่ผู้อื่น ทำให้ผู้อื่นมีความสุข และถ้าเรามีความสุขด้วย นั่นก็คือบุญของเรา กุศลของเรา สวรรค์ของเรา สิ่งที่เรากระทำนั้น ไม่สูญหายไปไหน จะติดตามเราไปได้ ทุกภพ ทุกชาติ
    และสำหรับคนที่กระทำกับเราต่าง ๆ นานา เราก็อย่าได้ถือโทษ โกรธแค้น เค้าเลย เราควรเปลี่ยนความโกรธแค้น โมโห พยาบาท มาเป็นความเมตตาต่อเค้า ซึ่งเค้าไม่รู้ ถูกอวิชชาครอบงำ ไม่สามารถแยกแยะผิดชอบ ชั่วดี กระทำผิดศีล ซึ่งเป็นการต่ออายุให้กับวัฏฏสงสารของตัวเค้าเอง ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิด อยู่ในภพภูมิต่าง ๆ เราควรให้อภัย อโหสิกรรมให้ ไม่จองเวรต่อกัน และแผ่เมตตาให้เค้า มีดวงตาเห็นธรรม พ้นอวิชชา (ความไม่รู้)
    เราต้องเริ่มฝึกจิตของตนเองให้มีความเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา (พรหมวิหาร4) อีกทั้งวาจา การกระทำ ให้อยู่ในพรหมวิหาร4 และให้อริยสัจ4 เพื่อเป็นหนทางแห่งการพ้นวัฏฏสงสาร
     
  14. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    เมื่อเราถูกผู้ใดทำร้าย ไม่ควรโกรธแค้น พยาบาท (อกุศล) ขอให้เปลี่ยน เป็นความเมตตา กรุณา (กุศล) เพราะเค้าได้ถูกอวิชชาทำร้ายอยู<wbr>่ ซึ่งจะเป็นการต่ออายุในวัฏฏสงสา<wbr>รของ เค้าเพิ่มขึ้น เราควรที่จะอโหสิกรรม และแผ่เมตตาให้เค้าเหล่านั้น ได้หลุดพ้นจากหนทางของอวิชชา ไปสู่หนทางแห่งอริยสัจ4 และหลุดพ้นจากวงเวียนกรรมของวัฏ<wbr>ฏสงสาร

    สรรพสัตว์ทั้งหลาย เกิด-ดับ มานับไม่ถ้วน ติดอยู่ใน รัก โลภ โกรธ หลง กิเลส ตัณหา ทุกอย่างล้วน นำพาให้เราวนเวียนอยู่กับความทุ<wbr>กข์ เหมือนดังเช่นคำสอนของพระศาสดา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า "เราเป็นผู้บอกหนทางแห่งการหลุด<wbr>พ้นจากความทุกข์เท่านั้น " ตัวของเราต้องเป็นผู้เดินทางด้ว<wbr>ยตนเองเท่านั้น ตามหนทางที่ท่านบอกไว้

    การที่เราได้ใช้หลักของอิทธิบาท4 ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ ในเรื่องของการฝักใฝ่ในพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า โดยได้นำมาโยนิโสมนสิการ ปัญญาก็เกิดขึ้น โดยมีความทุกข์ เกิดขึ้น และได้เกิดปัญญา ที่ได้ค้นพบหนทางแห่งการหลุดพ้นจากความทุกข์
     
  15. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ขอให้ผู้ที่ศรัทธาในพระธรรมคำสอนพระพุทธเจ้า ร่วมกันสร้างกุศล ด้วยการแผ่เมตตา กรุณา ต่อสรรพสัุตว์ทั้งหลาย ทั้ง 31 ภพภูมิ ที่เคยล่วงเกิน ด้วย กาย วาจา ใจ หรือเคยผิดศีลข้อหนึ่งข้อใดต่อกัน ขออโหสิกรรมต่อกัน ขอให้หลุดพ้นจากอวิชชา มีจิตเป็นกุศล มีความเมตตา กรุณา คิดดี พูดดี ทำดี ต่อกัน สร้างแต่สิ่งที่เป็นบุญเป็นกุศล ลด ละ เลิก สิ่งที่เป็นกรรมเป็นอกุศล
    ทาน ศีล ภาวนา ฝึกจิต ฝึกวาจา ฝึีกกาย จนเกิดเป็นนิสัย ให้ตามติดพระนิพพาน
    ยึดมั่น ศรัทธา ต่อพระรัตนตรัย โดยมีพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ เป็นที่พึ่ง เป็นที่ระลึก ตราบเท่าชีวิต
    ธรรมเป็นเครื่องคุ้มครอง ผู้ประพฤติปฏิบัติในธรรม เป็นเครื่องชี้นำชีวิตสรรพสัตว์ให้สู่หนทางแห่งพระนิพพาน
     
  16. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    การที่คนเราได้พูดคุยในเรื่องของพระธรรม ได้แลกเปลี่ยนหัวข้อธรรม ที่นำมาใช้กับชีวิตประจำวัน การดำเนินชีวิตของเราล้วนมีข้อธรรมให้ได้ศึกษา โดยใช้ปัญญาในการพิจารณา มีสติเป็นผู้กำกับ กาย วาจา ใจ (มีอานิสงค์ทางด้านกุศล)
    แต่ก็มีคนพวกหนึ่งที่ไม่ชอบการพูดคุยสนทนาธรรม เห็นเป็นเรื่องน่าเบื่อ บางครั้งก็รู้สึกว่าเป็นเรื่องน่ารำคาญ มีจิตอกุศลต่อผู้ที่สนทนาด้วย เพราะไม่สนใจ ไม่ใส่ใจ ไม่ได้ให้ความสำคัญ ไม่มีอิทธิบาท4 ในเรื่องนี้
    แต่เรื่องบางเรื่องกับสนใจ ซึ่งก็ไม่ได้ก่อกุศลให้กับตนเอง แต่กลับเป็นการก่ออกุศล แต่จะเป็นเรื่องสำคัญ น่าสนใจ น่าติดตาม ไม่น่าเบื่อ น่ารำคาญ สิ่งเหล่านี้ทำให้เิกิดอวิชชาขึ้นมาโดยไม่รู้ตัว ทำให้สร้างอกุศลอยู่เรื่อย ๆ
    ชีวิตของมนุษย์ที่เกิดมานั้น ไม่ได้เกิดมาง่าย ๆ และมนุษย์ มีโอกาสสร้างกุศลและอกุศล มีโอกาสหลุดพ้นจากความทุกข์ คือ นิพพาน
     
  17. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    นางนกดุเหว่า

    กุณาลชาดก ว่าด้วยนางนกดุเหว่า
    พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ ริมสระชื่อกุณาละ ทรงพระปรารภ ภิกษุ ๕๐๐ รูป ซึ่งถูกความเบื่อหน่ายอยากจะสึกบีบคั้นแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี ดังนี้.
    ลำดับเรื่องในกุณาลชาดกนั้นดังนี้

    พระบรมศาสดาทรงระงับการวิวาทระหว่างพระญาติ

    ดัง ได้สดับมาว่า ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์ กับเมืองโกลิยะทั้งสองเมืองนี้ มีแม่น้ำชื่อว่า โลหินี สายเดียวเท่านั้นไหลผ่านลงมา ชนชาวสากิยะและชนชาวโกลิยะจึงทำทำนบกั้นน้ำนั้นร่วมอันเดียวกันแล้วจึงตก กล้า ครั้งหนึ่งในต้นเดือน ๗ ข้าวกล้าเฉาลง พวกกรรมกรของชนชาวนครทั้งสองนั้นจึงประชุมกัน บรรดากรรมกรทั้งสองเมืองนั้น พวกกรรมกรชาวเมืองโกลิยะกล่าวขึ้นก่อนว่า น้ำที่ปิดกั้นไว้นี้ ถ้าจะไขเข้านาทั้งสองฝ่าย ก็ไม่พอเลี้ยงต้นข้าวของพวกเราและพวกท่าน ก็ข้าวกล้าของพวกเราจักสำเร็จเพราะน้ำคราวเดียวเท่านั้น พวกท่านจงให้น้ำนี้แก่พวกเราเถิด

    พวกกรรมกรชาวเมืองกบิลพัสดุ์ก็พูด ขึ้นว่า เมื่อพวกท่านได้ข้าวกล้าเอาบรรจุไว้ในฉางจนเต็มแล้วตั้งปึ่งอยู่ พวกเราไม่อาจที่จะถือเอากหาปณะทองคำ เงิน นิล มณีสัมฤทธิ์ แบกกระเช้ากระสอบเป็นต้น เที่ยวไปขอซื้อตามประตูเรือนของท่านได้ แม้ข้าวกล้าของพวกเราก็จักสำเร็จได้เพราะน้ำคราวเดียวเท่านั้นเหมือนกัน ขอพวกท่านจงให้น้ำนี้แก่พวกเราเถิด

    ทั้งสองฝ่ายต่างก็ขึ้นเสียงเถียง กันว่า พวกเราจักไม่ให้ แม้พวกเราก็จักไม่ยอมให้เหมือนกัน ดังนี้ ครั้นพูดกันมากขึ้น ๆ อย่างนี้ กรรมกรคนหนึ่งก็ลุกขึ้น ตีเอาคนหนึ่งเข้า แม้คนที่ถูกตีนั้น ก็ตีคนอื่น ๆ ต่อไป ต่างฝ่ายต่างตีกันอย่างนี้ ก็เกิดทะเลาะกระทบชาติแห่งราชตระกูล พวกกรรมกรชาวโกลิยะกล่าวขึ้นก่อนว่า พวกมึงจงพาพวกเด็ก ๆ สากิยะซึ่งอยู่ในเมืองกบิลพัสดุ์ไปเถิด อ้ายพวกสังวาสกับน้องสาวของตัวเองเหมือนสัตว์เดียรัจฉาน มีหมาบ้านและหมาป่าเป็นต้น ถึงจะมีกำลังเป็นต้นว่า ช้าง ม้า โล่และอาวุธ ก็จักกระทำอะไรแก่พวกกูได้

    พวกกรรมกรชาวสากิยะก็กล่าวตอบว่า พวกมึงก็เหมือนกันจงพาเด็กขี้เรื้อนไปเสียในบัดนี้ อ้ายพวกอนาถาหาที่ไปไม่ได้ เที่ยวอาศัยอยู่ในโพรงไม้กระเบาเหมือนสัตว์เดียรัจฉาน ถึงจะมีโยธาหาญเป็นต้นว่าช้าง ม้า โล่และอาวุธ ก็จักกระทำอะไรแก่พวกกูได้

    ชน เหล่านั้นต่างฝ่ายต่างก็ไปร้องเรียนอำมาตย์ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ในการนั้น พวกอำมาตย์จึงเสนอเรื่องราวแก่ราชตระกูลต่อไป ในลำดับนั้น พวกกษัตริย์สากิยะทั้งหลายจึงตรัสว่า พวกเราจะสำแดงเรี่ยวแรงและกำลังของคนที่สังวาสกับน้องสาวให้ดู แล้วตระเตรียมการรบยกออกไป แม้กษัตริย์พวกโกลิยะก็ตรัสว่าพวกเราก็จะสำแดงให้เห็นเรี่ยวแรงและกำลังของ คนที่อาศัยอยู่ในต้นกระเบาแล้วตระเตรียมการรบยกออกไปเหมือนกัน.

    ใน สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ เมืองสาวัตถีทรงทอดพระเนตรดูสัตวโลกในเวลาใกล้รุ่งทีเดียว ได้ทอดพระเนตรเห็นกษัตริย์ทั้งสองพระนครเหล่านี้ มีการตระเตรียมรบแล้วยกกองทัพออกไปอย่างนี้ เมื่อทอดพระเนตรเห็นแล้วจึงทรงใคร่ครวญต่อไปว่า เมื่อเราไปห้ามการทะเลาะนี้จักระงับหรือไม่หนอ ก็ทรงเห็นว่า เราไปในที่นั้นแล้ว จักแสดงชาดก ๓ เรื่องเพื่อระงับการทะเลาะวิวาท การทะเลาะวิวาทก็จักระงับลงในขณะนั้น ครั้นแล้วเราจักแสดงชาดกอีก ๒ เรื่องเพื่อต้องการจะให้แสดงความสามัคคีนั้น แล้วจักแสดงอัตตทัณฑสูตรต่อไป กษัตริย์ผู้อยู่ในพระนครทั้งสอง เมื่อได้ฟังเทศนาของเราแล้ว ก็จักให้พระราชกุมารฝ่ายละ ๒๕๐ พระองค์ เราจักให้พระราชกุมารเหล่านี้บรรพชา สมาคมใหญ่จักมีด้วยประการฉะนี้

    ครั้นตกลงพระหฤทัยดังนี้แล้ว พอรุ่งเช้าก็ทรงกระทำการชำระพระสรีระ เสด็จเที่ยวไปบิณฑบาตในเมืองสาวัตถี เสด็จกลับจากบิณฑบาตแล้ว ถึงเวลาเย็นก็เสด็จออกจากพระคันธกุฎีมิได้ตรัสบอกแก่ใคร ๆ เลย ทรงถือเอาบาตรแลจีวรด้วยพระองค์เอง ทรงคู้บัลลังก์ประทับนั่งในอากาศระหว่างเสนาทั้งสองฝ่าย ทรงเปล่งพระรัศมีออกจากพระเกศ ทำให้เกิดความมืดในเวลากลางวัน เพื่อให้เกิดความท้อใจแก่พวกนักรบเหล่านั้น ลำดับนั้น เมื่อพวกนักรบเหล่านั้นเกิดความท้อใจแล้ว พระองค์จึงทรงแสดงพระองค์ให้ปรากฏ ทรงเปล่งพระพุทธรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ

    ฝ่ายเหล่ากษัตริย์สากิยะชาว เมืองกบิลพัสดุ์ ครั้นเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงดำริว่าญาติผู้ประเสริฐของพวกเราเสด็จมาแล้ว ชะรอยพระองค์คงจะได้ทรงทราบว่าพวกเรากระทำการทะเลาะวิวาทกัน จึงพากันวางเครื่องอาวุธเสียด้วยตกลงใจว่าก็เมื่อพระศาสดาเสด็จมาแล้ว พวกเราไม่อาจที่จะให้อาวุธตกต้องร่างกายของผู้อื่นได้ พวกชาวเมืองโกลิยะจะฆ่าจะแกงพวกเราเสียก็ตามทีเถิด แม้พวกกษัตริย์ชาวเมืองโกลิยะก็คิดและกระทำอย่างนั้นเหมือนกัน ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงเสด็จลงมาประทับนั่ง ณ พุทธอาสน์อันประเสริฐ ซึ่งพวกกษัตริย์จัดถวายบนเนินทรายในประเทศอันรื่นรมย์ ทรงรุ่งเรืองอยู่ด้วยพระพุทธสิริอันงดงามหาสิ่งเปรียบมิได้ แม้พระราชาทั้งสองฝ่ายนั้น ก็พากันถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วนั่งอยู่.

    ลำดับนั้น พระศาสดาแม้ทรงทราบเรื่องอยู่ แต่ก็ได้ตรัสถามพวกกษัตริย์เหล่านั้นอีกว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย พวกท่านมา ณ ที่นี้ทำไม

    กษัตริย์ เหล่านั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันทั้งปวงมา ณ ที่นี้เพื่อต้องการจะดูแม่น้ำก็หามิได้ เพื่อต้องการจะเที่ยวเล่นก็หามิได้ เพื่อต้องการจะดูภาพอันน่ารื่นรมย์ในป่าดงก็หามิได้ ก็แต่ว่าหม่อมฉันมา ณ ที่นี้ เพราะการเริ่มสงครามกันขึ้น

    ดูก่อนมหาราช พวกเธอเกิดทะเลาะวิวาทกันด้วยเรื่องอะไรเล่า

    เพราะเรื่องน้ำพระเจ้าข้า

    ดูก่อนมหาราช น้ำมีราคาเท่าไร

    น้ำราคาเล็กน้อย พระเจ้าข้า

    ดูก่อนมหาราช ก็แผ่นดินราคาเท่าไร

    แผ่นดินมีราคาประมาณมิได้พระเจ้าข้า

    ดูก่อนมหาราช ก็กษัตริย์เล่ามีราคาเท่าไร

    กษัตริย์ก็มีราคาประมาณมิได้เหมือนกันพระเจ้าข้า

    พระ ศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย ไฉนพวกท่านจึงจะยังกษัตริย์ทั้งหลายซึ่งหาค่ามิได้ให้พินาศไป เพราะอาศัยน้ำซึ่งมีราคาเพียงเล็กน้อยเล่า

    ครั้นตรัสดังนี้แล้ว จึงตรัสเทศนาผันทนชาดกความว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าการหายใจคล่องเพราะเหตุทะเลาะวิวาทกันนั้นไม่มีเลย ด้วยว่ารุกขเทวดาตนหนึ่งกับหมีตัวอาฆาตกัน เพราะเหตุทะเลาะวิวาทกัน เวรนั้นก็ตกตามอยู่ตลอดกัปนี้ทั้งสิ้น

    ลำดับต่อนั้นไป ได้ตรัสเทศนาทุททภชาดกความว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย เกิดมาเป็นคนไม่ควรหันไปตามเหตุที่ถึงของบุคคลอื่น (คือไม่ควรเก็บเอาเรื่องของคนอื่นมาคิด) จะเล่าให้ฟัง พวกสัตว์จตุบทในประเทศหิมวันต์ซึ่งกว้างประมาณ ๓,๐๐๐ โยชน์ ยึดถือเรื่องของคนอื่น พากันวิ่งจะไปลงทะเล เพราะฟังคำของกระต่ายตัวหนึ่ง เพราะฉะนั้น บุคคลจึงไม่ควรยึดถือเอาเรื่องของคนอื่น

    ต่อจากนั้น พระองค์ตรัสเทศนาลฏุกิกชาดกความว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย บางคราวผู้ที่มีกำลังน้อยก็หาช่องทำลายผู้มีกำลังมากได้ บางคราวผู้มีกำลังมากก็ได้ช่องทำแก่ผู้มีกำลังน้อย แม้แต่นางนกไซ้ยังฆ่าพญาช้างตัวประเสริฐได้

    สมเด็จพระบรมศาสดาตรัส เทศนาชาดก ๓ เรื่อง เมื่อทรงพระประสงค์จะระงับการทะเลาะวิวาทดังนี้แล้ว จึงตรัสเทศนาชาดกอีก ๒ เรื่อง เพื่อแสดงสามัคคีธรรมเหมือนดังนั้นอีก คือตรัสเทศนารุกขธรรมชาดกว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลายก็เมื่อบุคคลพร้อมเพรียงกันอยู่แล้ว ใคร ๆ ก็ไม่อาจหาช่องทำร้ายได้

    แล้วตรัสเทศนาวัฏฏกชาดกความว่า ดูก่อนมหาราชทั้งหลาย เมื่อฝูงนกกระจาบพร้อมเพรียงกันอยู่ นายพรานก็ไม่อาจหาช่องทำร้ายได้ ต่อเมื่อใดฝูงนกกระจาบเกิดแก่งแย่งกันขึ้น เมื่อนั้นบุตรนายพรานคนหนึ่ง จึงทำลายชีวิตเอานกกระจาบเหล่านั้นไปเสีย ขึ้นชื่อว่าความหายใจคล่องในการทะเลาะวิวาทย่อมไม่มีเลย พระศาสดาตรัสชาดก ๕ เรื่องเหล่านี้อย่างนี้แล้ว ในที่สุดจึงตรัสเทศนาอัตตทัณฑสูตร.

    พระ ราชาแม้ทั้งหมดสดับพระธรรมเทศนานั้นแล้ว ก็ทรงเลื่อมใส ปรึกษากันว่า ถ้าหากว่าพระศาสดาไม่เสด็จมา พวกเราก็จักฆ่าฟันซึ่งกันและกันจนเลือดไหลนองเป็นแม่น้ำ พวกเราได้ชีวิตเพราะอาศัยพระศาสดา ก็ถ้าพระศาสดาจักทรงครอบครองฆราวาส ราชสมบัติในทวีปใหญ่ทั้ง ๔ มีทวีปน้อย ๒,๐๐๐ เป็นบริวารก็จะตกอยู่ในเงื้อมพระหัตถ์ของพระองค์ และพระองค์จักมีพระราชโอรสกว่าพัน แต่นั้นก็จักมีกษัตริย์เป็นบริวารเสด็จเที่ยวไป ก็แต่ว่าพระองค์ทรงสละราชสมบัติเช่นนั้นเสียแล้ว เสด็จออกบรรพชาจนได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ถึงอย่างนั้นเดี๋ยวนี้ พระองค์ก็ควรมีกษัตริย์เป็นบริวารเสด็จเที่ยวไป

    ครั้นปรึกษากันดัง นี้แล้ว กษัตริย์ทั้งสองพระนครนั้นจึงถวายพระราชกุมารฝ่ายละ ๒๕๐ องค์ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงให้พระราชกุมารเหล่านั้นบรรพชาแล้ว เสด็จไปสู่มหาวัน

    จำเดิมแต่วันรุ่งขึ้นเป็นต้นไป พระผู้มีพระภาคเจ้ามีภิกษุราชกุมารเหล่านั้นแวดล้อมเป็นบริวารเสด็จเที่ยว บิณฑบาตไปในพระนครทั้งสอง คือบางคราวก็เสด็จไปเมืองกบิลพัสดุ์ บางคราวก็เสด็จไปเมืองโกลิยะ แม้ชาวพระนครทั้งสองก็กระทำสักการะใหญ่แก่พระองค์ ฝ่ายพวกภิกษุราชกุมารเหล่านั้น บวชด้วยความเคารพในสมเด็จพระบรมครู หาได้บวชด้วยความเต็มใจของตนไม่ จึงได้เกิดความกระสันอยากจะสึก ใช่แต่เท่านั้นพวกภรรยาเก่าของภิกษุเหล่านั้น ยังกล่าวถ้อยคำและส่งข่าวสาสน์ไปยั่วยวนชวนให้เกิดความเบื่อหน่ายอีก ภิกษุราชกุมารเหล่านั้นก็ยิ่งเบื่อหน่ายหนักขึ้น

    พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพิจารณาดูก็ทรงทราบว่า ภิกษุเหล่านั้นเกิดความเบื่อหน่ายขึ้นแล้ว จึงทรงใคร่ครวญว่า ภิกษุเหล่านี้อยู่ร่วมกับพระพุทธเจ้าเช่นเรายังมีความเบื่อหน่ายอีก ธรรมกถาเช่นไรหนอ จึงเป็นที่สบายของภิกษุเหล่านี้ได้ ก็ทรงเห็นว่ากุณาลธรรมเทศนาเป็นที่สบาย ลำดับนั้นพระองค์จึงทรงตรึกต่อไปว่า เราจักพาภิกษุเหล่านี้ไปยังประเทศหิมวันต์ ประกาศโทษของมาตุคามตามถ้อยคำของนกดุเหว่าชื่อกุณาละให้ภิกษุเหล่านั้นได้ ฟังกำจัดความเบื่อหน่ายเสียแล้ว จักแสดงพระโสดาปัตติมรรคแก่เธอ

    ครั้น เวลารุ่งเช้า พระองค์จึงทรงนุ่งห่มถือบาตรและจีวรเสด็จเข้าไปบิณฑบาต ณ เมืองกบิลพัสดุ์ พอเวลาปัจฉาภัตรก็เสด็จกลับจากบิณฑบาต รับสั่งให้หาภิกษุประมาณ ๕๐๐ เหล่านั้นมาในเวลาเสร็จภัตกิจแล้ว ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอเคยเห็นหิมวันตประเทศอันเป็นสถานที่น่ารื่นรมย์แล้วหรือ

    ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ยังไม่เคยเห็นเลย พระเจ้าข้า

    จึงตรัสถามว่า ก็พวกเธอจักไปเที่ยวยังประเทศหิมวันต์ไหมเล่า

    กราบทูลว่า ข้าพระองค์ทั้งหลายไม่มีฤทธิ์ จักไปอย่างไรได้เล่า พระเจ้าข้า

    ตรัสว่า ถ้าใครคนใดคนหนึ่งจะพาพวกเธอไป เธอจะไปหรือไม่เล่า

    พระภิกษุเหล่านั้นก็กราบทูลว่า ข้าพระองค์จักไป พระเจ้าข้า.

    สมเด็จ พระบรมศาสดาจึงทรงพาภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดไปด้วยฤทธิ์ของพระองค์ ทรงเหาะไปในอากาศจนถึงป่าหิมวันต์ ประทับยืนอยู่บนท้องฟ้าทรงชี้ให้ชมภูเขา ๗ ลูกต่าง ๆ กัน คือ ภูเขาทอง ภูเขาเงิน ภูเขาแก้วมณีภูเขาหรดาล ภูเขามอ ภูเขาโล้น ภูเขาแก้วผลึก แล้วทรงชี้ให้ดูแม่น้ำใหญ่ทั้ง ๕ สาย คือ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู มหี แล้วทรงชี้ให้ดูสระทั้ง๗ แห่ง คือ สระชื่อกัณณมุณฑะ รถการ มัณฑากิณี สีหปบาต ฉัททันต์ อโนดาต กุณาละ ภูเขาที่ได้ชื่อว่าหิมวันต์นั้นสูงถึง ๕๐๐ โยชน์ กว้าง ๓,๐๐๐โยชน์

    พระ ศาสดาทรงชี้สถานอันน่ารื่นรมย์นี้ ซึ่งเป็นเพียงบางส่วนของภูเขาหิมวันต์นั้น ด้วยอานุภาพของพระองค์ แล้วทรงชี้ถึงสัตว์ ๔ เท้าเป็นต้นว่าราชสีห์ เสือโคร่ง ตระกูลช้าง และสัตว์ ๒ เท้า มีนกดุเหว่าเป็นต้น ซึ่งอาศัยอยู่ที่ภูเขาหิมวันต์นั้นแต่บางส่วนอีก

    ต่อจากนั้นทรงชี้ ถึงป่าอันเป็นที่รื่นรมย์ราวกะว่า สวนที่ประดับตกแต่งไว้ มีทั้งพรรณไม้อันมีดอกออกผลเกลื่อนกล่นด้วยหมู่นกนานาชนิด ทั้งดอกไม้น้ำและดอกไม้บก ด้านทิศตะวันออกของภูเขาหิมวันต์นั้นมีพื้นแผ่นสุวรรณ ด้านทิศตะวันตกมีพื้นหรดาล

    นับแต่กาลที่ภิกษุเหล่านั้น เห็นสถานที่และวัตถุอันน่ารื่นรมย์เหล่านี้ แล้วความกำหนัดยินดีในชายาก็เสื่อมหายไป ลำดับนั้น พระศาสดาจึงทรงพาภิกษุเหล่านั้นลงจากอากาศ เสด็จประทับนั่งบนอาสนะมโนศิลาอันมีปริมณฑลได้ ๓ โยชน์ ภายใต้ต้นรังอันตั้งอยู่ตลอดกัป ซึ่งมีปริมณฑลได้ ๗ โยชน์ ขึ้นอยู่บนพื้นมโนศิลาอันกว้างใหญ่ประมาณ ๖๐ โยชน์ อยู่ด้านทิศตะวันตกแห่งภูเขาหิมวันต์

    เมื่อภิกษุเหล่านั้นแวดล้อม พร้อมกันแล้ว จึงทรงเปล่งพระรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ ดุจดวงสุริยะอันชัชวาลย์ส่องสว่างกลางท้องมหาสมุทรทำทะเลให้กระเพื่อมขึ้นลง ฉะนั้น แล้วทรงเปล่งพระสุรเสียงอันไพเราะตรัสเรียกภิกษุเหล่านั้นว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งอันใดที่พวกเธอไม่เคยเห็นในเขาหิมวันต์นี้ ก็จงถามเราเถิด

    ในขณะนั้น นางนกดุเหว่าสวยงาม ๒ ตัว คาบท่อนไม้ที่ปลายทั้งสองข้าง ให้นกตัวเป็นสามีของตนจับตรงกลาง แล้วมีนางนกดุเหว่าบินไปข้างหน้า ๘ ตัว ข้างหลัง ๘ ตัว ข้างซ้าย ๘ ตัว ข้างขวา ๘ ตัวข้างล่าง ๘ ตัว ข้างบนบินบังเป็นเงา ๘ ตัว พวกนางนกดุเหว่าเหล่านั้นบินแวดล้อมนกดุเหว่านั้น บินไปในอากาศโดยอาการอย่างนี้

    ภิกษุเหล่านั้นเห็นฝูงนกทั้งหมด จึงทูลถามพระศาสดาว่า ฝูงนกเหล่านี้ชื่อนกอะไร พระเจ้าข้า

    พระ ศาสดาตรัสตอบว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายนี้เป็นวงศ์เก่าของเรา เราได้ตั้งประเพณีนี้ไว้ แต่ก่อนนางนกดุเหว่าทั้งหลาย ก็ได้บำเรอเราอย่างนี้มาเหมือนกัน แต่คราวนั้นฝูงนกนี้ยังเป็นฝูงใหญ่ นางนกที่บินตามแวดล้อมเรามีประมาณถึง ๓,๕๐๐ ตัว ในกาลต่อมาก็ร่วงโรยลงโดยลำดับ จนเวลานี้เหลืออยู่เพียงเท่าที่เห็นอยู่นี้

    พวกภิกษุจึงทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นางนกเหล่านี้ได้เคยบำเรอพระองค์มาในป่าชัฏเห็นปานนี้อย่างไร พระเจ้าข้า

    ลำดับ นั้นพระศาสดาจึงตรัสแก่พวกภิกษุเหล่านั้นว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าเช่นนั้นเธอทั้งหลายจงตั้งใจฟังถ้อยคำของเราเถิด แล้วทรงดำรงพระสติ เมื่อจะทรงนำอดีตนิทานมาแสดง จึงมีพระพุทธฎีกาว่า
     
  18. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <center><b><big>อรรถกถา กุนตินีชาดก</big></b><center class="D">ว่าด้วย การเชื่อมมิตรภาพ</center></center> พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภนางนกกระเรียนซึ่งอยู่อาศัยในพระราชวังของพระเจ้าโกศล จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า อวสิมฺหา ตวาคาเร ดังนี้.
    ได้ยินว่า นางนกกระเรียนนั้นเป็นผู้จำทูลพระราชสาสน์ของพระราชา นางนกนั้นมีลูกนกอยู่ ๒ ตัว. พระราชาทรงให้นางนกนั้นถือพระราชหัตถเลขาไปส่งแก่พระราชาองค์หนึ่ง. ในเวลาที่นางนกนั้นไปแล้ว พวกทารกในราชสกุลพากันเอามือบีบลูกนกเหล่านั้นจนตายไป. นางนกนั้นกลับมาแล้วเห็นลูกนกเหล่านั้นตายแล้ว จึงถามว่า ใครฆ่าลูกฉันตาย? เขาบอกว่า เด็กคนโน้นและเด็กคนโน้นฆ่า.
    ก็ในเวลานั้น ในราชสกุล มีเสือโคร่งที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งดุร้ายหยาบช้า มันอยู่ได้โดยการล่ามไว้. ทีนั้นพวกเด็กเหล่านั้นได้ไปเพื่อจะดูเสือโคร่งนั้น. นางนกแม้นั้นก็ได้ไปกับเด็กเหล่านั้น คิดว่า เราจักกระทำเด็กเหล่านี้เหมือนมันฆ่าลูกของเรา จึงพาเด็กเหล่านั้นไปทำให้ล้มลงใกล้เท้าเสือโคร่ง. เสือโคร่งเคี้ยวกินกร้วมๆ. นางนกนั้นคิดว่า บัดนี้ มโนรถของเราบริบูรณ์แล้ว จึงบินไปยังหิมวันตประเทศทันที.
    ภิกษุทั้งหลายได้สดับเหตุนั้นแล้วจึงนั่งสนทนากันในโรง ธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย ได้ยินว่า นางนกกระเรียนในราชสกุล กระตุ้นพวกเด็กที่ฆ่าลูกของตนให้ล้มลงที่ใกล้เท้าเสือโคร่ง แล้วบินไปยังหิมวันตประเทศเลยทีเดียว.
    พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า เรื่องนี้ พระเจ้าข้า. จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่บัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน นางนกกระเรียนนี้ก็กระตุ้นพวกเด็กผู้ฆ่าลูกของตนให้ล้ม แล้วไปสู่หิมวันตประเทศเหมือนกัน.
    แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้.
    ในอดีตกาล เมื่อพระโพธิสัตว์ครองราชสมบัติในนครพาราณสี โดยธรรมโดยสม่ำเสมอ. ในพระราชนิเวศน์ มีนางนกกระเรียนตัวหนึ่ง เป็นผู้จำทูลพระราชสาสน์.
    ข้อความทั้งหมดเช่นกับที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั่นเอง.
    ส่วนความแผกกันมีดังต่อไปนี้ :-
    นางนกกระเรียนนั้นให้เสือโคร่งฆ่าเด็กทั้งหลายแล้วคิดว่า บัดนี้ เราไม่อาจอยู่ในที่นี้ เราจักต้องไป แต่เมื่อจะไป ยังไม่กราบทูลพระราชาให้ทรงทราบก่อน จักไม่ไป นางนกกระเรียนนั้นจึงเข้าไปเฝ้าพระราชาแล้วยืนอยู่ ณ ส่วนสุดข้างหนึ่ง กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นนาย พวกเด็กฆ่าลูกๆ ของข้า
    <wbr>พระ<wbr>องค์ เพราะความพลั้งเผลอของ<wbr>พระ<wbr>องค์ ข้าพระองค์เป็นผู้ตกอยู่ในอำนาจของความโกรธ จึงฆ่าเด็กพวกนั้นตอบแทน บัดนี้ ข้าพระองค์ไม่อาจอยู่ในที่นี้ แล้วกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
    ข้าพระองค์ได้อาศัยอยู่ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์ พระองค์ทรงอุปถัมภ์บำรุงเป็นอย่างดีมิได้ขาด มาบัดนี้ พระองค์ทีเดียวได้ก่อเหตุขึ้น ข้าแต่พระราชา ผิฉะนั้น ข้าพระองค์จะขอทูลลาไปป่าหิมพานต์.


    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตฺวเมวทานิมกริ ความว่า พระองค์นั่นแหละให้ข้าพระองค์ถือพระราชหัตถเลขาไปส่ง ไม่ทรงปกป้องบุตรทั้งหลายของข้าพระองค์ เพราะความประมาทของพระองค์ ชื่อว่าทรงก่อเหตุให้ข้าพระองค์ไปนี้ ณ บัดนี้. ศัพท์ว่า หนฺท เป็นนิบาตใช้ในอรรถแห่งอุปสรรค. นางนกกระเรียนเรียกพระโพธิสัตว์ว่า ราชา.
    บทว่า วชามหํ ความว่า ข้าพระองค์จะไปยังหิมวันตประเทศ.

    พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาที่ ๒ ว่า :-
    ผู้ใดแล เมื่อคนอื่นทำกรรมอันชั่วร้ายให้แก่ตนแล้ว และตนก็ได้ทำตอบแทนแล้วย่อมรู้สึกได้ว่า เราได้ทำตอบแก่เขาแล้ว เวรของผู้นั้นย่อมสงบไปด้วยอาการเพียงเท่านี้
    ดูก่อนนางนกกระเรียน ท่านจงอยู่เถิด อย่าไปเลย.


    คำที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า
    บุคคลใด เมื่อคนอื่นกระทำกรรมอันชั่วร้าย คือกระทำกรรมอันทารุณ มีฆ่าบุตรเป็นต้นของตน เมื่อตนกลับทำตอบซึ่งกรรมอันชั่วร้ายตอบต่อบุคคลนั้นได้ ย่อม
    <wbr>รู้สึกว่าเราทำตอบเขาได้แล้ว. เวรนั้นย่อมสงบไปด้วยอาการอย่างนี้ คือเวรนั้นย่อมสงบ คือเข้าไปสงบด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ เพราะเหตุนั้น นางนกกระเรียนเอ๋ย เจ้าอยู่เถิดอย่าไปเลย.

    นางนกกระเรียนได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
    มิตรภาพของผู้ที่ถูกทำร้ายกับผู้ที่ทำร้าย ย่อมเชื่อมกันอีกไม่ได้ ใจของข้าพระองค์ไม่ยอม<wbr>อนุญาต<wbr>ให้อยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ เพราะเหตุนั้น ข้าพระองค์จึงขอทูลลาไปให้ได้.


    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น กตสฺส จ กตฺตา จ ความว่า ขึ้นชื่อว่ามิตรภาพของคน ๒ จำพวกนี้ คือคนผู้ถูกกระทำ ถูกข่มเหงถูกเบียดเบียน และคนผู้ทำให้แปรปรวนไปโดยความแตกแยกในบัดนี้ ย่อมเชื่อมกันไม่ได้ คือต่อกันไม่ได้อีก.
    บทว่า หทยํ นานุชานาติ ความว่า เพราะเหตุนั้น ใจของข้าพระองค์จึงไม่อนุญาตการอยู่ในที่นี้.
    บทว่า คจฺฉญฺเญว รเถสภ ความว่า ข้าแต่มหา
    <wbr>ราช เพราะฉะนั้น ข้าพระองค์จักขอไปอย่างเดียว.

    พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาที่ ๔ ว่า :-
    มิตรภาพของผู้ที่ถูกทำร้ายกับผู้ที่ทำร้าย ย่อมเชื่อมกันได้อีกเฉพาะพวกบัณฑิตด้วยกัน แต่สำหรับพวกคนพาลย่อมเชื่อมกันไม่ได้อีก ดูก่อนนางนกกระเรียน เจ้าจงอยู่เถิดอย่าไปเลย.


    คำที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า
    ไมตรีของบุคคลผู้ถูกกระทำและบุคคลผู้กระทำ ย่อมเชื่อมกันได้อีก แต่ไมตรีนั้นย่อมเชื่อมกันได้ สำหรับพวกนักปราชญ์ ส่วนสำหรับพวกคนพาลย่อมเชื่อมกันไม่ได้ เพราะว่า ไมตรีของนักปราชญ์ทั้งหลาย แม้จะแตกไปแล้วก็กลับเชื่อมต่อได้ ส่วนไมตรีของพวกคนพาลแตกกันคราวเดียว ย่อมเป็นอันแตกไปเลย เพราะฉะนั้น นางนกกระเรียนเอ๋ย เจ้าจงอยู่เถิดอย่าไปเลย.

    แม้เมื่อตรัสห้ามอยู่อย่างนั้น นางนกก็ยังทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นนาย ข้าพระองค์ไม่อาจอยู่ พระเจ้าข้า. จึงถวายบังคมพระราชา แล้วบินไปยังหิมวันตประเทศทีเดียว.

    พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว จึงทรงประชุมชาดกว่า
    ในกาลนั้น นางนกกระเรียนนั่นแหละได้มาเป็น นางนกกระเรียน ในบัดนี้
    ส่วนพระเจ้าพาราณสีในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.


    จบ อรรถกถากุนตินีชาดกที่ ๓
    ------------------------------
    ----------------------
     
  19. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    คาถาพญายม

    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโต จุติ
    จิตะเมตะ นิพพานัง สุขะโต จุติ

    ใช้สำหรับ สวดป้องกันภัยพิบัติทั้งปวง

    คาถาขอพรพญายม เพื่อขอให้ท่านประทานอายุที่ยืนนาน ปราศจากโรคภัย
    โอม ทักษิณะ ทะสะเทวะตา สะหะ คะณะ ปะริวารายะ อาคัจฉันตุ ปะริภุญชะตุ สวาหะ สวาหายะ โอม สัพพะอุปาทะวะ สัพพะ ทุกขะ สัพพะโสกะ สัพพะโรคะ สัพพะภะยะ สัพพะปัททะวะ วินาสายะ สัพพะศัตรูวินาสายะ ปะมุจจันติ โอม ยะมาเทวะตา สะทา รักขะตุ สะวาหะ สะวาหา สะวาหายะ

    คาถาบูชาพญายม
    โอม พะยามะราชะ อุปาทะวะตายะ มะหิสสะ พาหะนายะ ทักขิณะทิสะ ฐิตายะ อาคัจฉันภุญชะตุ ขิปปายะ วิปปะยะตุ สะวาหะ สะวาหายะ สัพพะ อุปาทะวะ วินาสายะ สัพพะ อันตะรายะ วินาสายะ สุขขะวัฑฒะโก โหตุ อายุ วัณณะ สุขะ พะลัง อัมหากัง รักขันตุ สะวาหะ สะวาหายะ
     
  20. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ขอตั้งสัจจะอธิษฐานเป็นผู้สืบต่<wbr>อพระศาสนา ตั้งมั่น ศรัทธาต่อพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่ากี่ภพ กี่ชาติ จนกว่าจะถึงนิพพาน
    ความเมตตากรุณาขององค์สมเด็จพระ<wbr>สัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีต่อสรรพสั<wbr>ตว์ทั้งหลายทุกภพทุกภูมิ ไม่มีผู้เปรีัยบปานได้ อีกทั้งพระธรรมคำสอนที่ท่านบัญญ<wbr>ัติไว้ ให้สรรพสัตว์สู่หนทางแห่งการหลุ<wbr>ดพ้น ดังที่ท่านได้ไปถึงแล้ว อีกทั้งพระอริยสงฆ์ ครูบาอาจารย์ ที่มีจิตเมตตากรุณา นำคำสอนของพระศาสดามาเผยแพร่ แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    รู้สึกปิติมาก ๆ กับคำสอนของศาสดา ล้วนเป็นบัญญัติที่จริงแท้แน่นอ<wbr>น ไม่ผันแปร เปลี่ยนแปลงอย่างไรเลย ทุกยุคทุกสมัย ทุกกาลเวลา สำหรับตนเองแล้ว โชคดีมาก ๆ ที่ได้พบพระพุทธศาสนา ได้ศึกษาพระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกสิ่งทุกอย่างจริงแท้แน่นอน ความศรัทธาเกิดมากขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งได้มาศึกษาเล่าเรียนในเรื่องพระอภิธรรม โดยได้รับความเมตตากรุณาจากครูบาอาจารย์ทุกท่าน ที่ท่านยินดีที่จะถ่ายทอด เผยแพร่พระธรรมให้ อีกทั้งท่านเจ้าอาวาส ที่อนุญาติให้ใช้สถานที่ในการศึกษา และสนับสนุนในเรื่องการศึกษาพระอภิธรรม


    ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะเป็นผู้ถ่ายทอด เผยแพร่สืบต่อพระศาสนา ทุกภพทุกชาติจนกว่าจะถึงนิพพาน ขอคุณพระพุทธ พระธรรม พระอริสงฆ์ ครูบาอาจารย์ ช่วยให้ข้าพเจ้าได้รู้ตามความเป็นจริง ที่พระอริยเจ้าได้รู้ ตามพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และได้หลงติดอยู่อวิชชา กิเลส ตัณหา หรือตกอยู่ในอบายทั้ง4
     

แชร์หน้านี้

Loading...