พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย newhatyai, 16 กันยายน 2007.

แท็ก: แก้ไข
  1. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    ธรรมะบทแรก พุทธศาสนิกชน (คนที่ระบุว่านับถือพุทธศาสนาตามสำเนา
    <SMALL>ทะเบียนบ้าน) จะเริ่มต้นศึกษาหลักธรรมหมวดไหนก่อนดี ในเมื่อมีมากมาย</SMALL>
    <SMALL>ถึงขนาดนั้น นี่คือเรื่องใหญ่ ดังนั้น จึงขอยึดเอาตามแนวทาง หรือจุดมุ่ง</SMALL>
    <SMALL>หมายและวิธีการ ในการเผยแพร่หลักธรรมของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนในสิ่ง</SMALL>
    <SMALL>ที่เป็นจริงของชีวิต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตไปสู่จุดหมายสูงสุด คือพระนิพพาน</SMALL>
    <SMALL>โดยใข้ธรรมขั้นพื้นฐานเป็นการปูพื้นไปก่อน สำหรับบุคลธรรมดาทั่วไป</SMALL>
    <SMALL>เนื่องจากมนุษย์ไม่เหมือนกันทุกคน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงตระหนักชัด</SMALL> <SMALL>ถึง</SMALL>
    <SMALL>ความจริงในข้อนี้</SMALL> <SMALL>นับแต่วันที่ทรงตรัสรู้แล้ว ด้วยเหตุนี้ก่อนที่จะทรงลงมือเผย</SMALL>
    <SMALL>แพร่หลักธรรม จึงทรงแยกแยะบุคลที่จะเข้าถึงธรรมไว้ ๔ ประเภทโดย</SMALL>
    <SMALL>เปรียบบุคล ๔ ประเภท เหมือนกับดอกบัว</SMALL> <SMALL>๔ เหล่า ดังนี้</SMALL>
    <SMALL>๑. ประเภทบัวพ้นน้ำ บัวเหล่านี้เมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็จะเบ่งบานทันที่</SMALL>
    <SMALL>เหมือนคนที่ฟังธรรมครังแรกก็บรรลุผลทันที</SMALL>
    <SMALL>๒. ประเภทบัวปริ่มน้ำ บัวเหล่านี้กำลังจะพ้นน้ำและเบ่งบานในวันถัดไป</SMALL>
    <SMALL>เหมือนคนที่ฟังธรรมครังแรกยังไม่สามารถ เข้าถึงได้ ต้องฟังซ้ำอีกครั้ง</SMALL>
    <SMALL>หนึ่งจึงจะบรรลุผล</SMALL>
    <SMALL>๓. ประเภทบัวที่กำลังเติบโต บัวเหล่านี้ที่พ้นจากการเป็นอาหารของเต่า</SMALL>
    <SMALL>และปลา จะพ้นน้ำและเบ่งบานในวันถัด ๆ ไป เหมือนคนที่มีภูมิธรรม สามารถ</SMALL>
    <SMALL>รับการอบรมสั่งสอนตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน จนบรรลุผลธรรมได้ในโอกาสต่อๆ ไป</SMALL>
    <SMALL>๔. ประเภทบัวใต้น้ำที่ตกเป็นอาหารเต่าและปลา บัวเหล่านี้ไม่มีโอกาส</SMALL>
    <SMALL>เจริญงอกงามพ้นน้ำ ขึ้นมาเบ่งบานได้ เปรียบ เหมือนคนที่มีบทบาทลีลามาก ไม่ยอมรับคำแนะนำสั่งสอนโดยประการทั้งปวงเป็นการตัดหนทางตัวเอง</SMALL>
    <SMALL>ในการเข้าถึง ธรรมซึ่งพระพุทธเจ้าก็มิทรงหวังผลกับบุคคลประเภทบัวใต้น้ำนี้</SMALL>
    <SMALL>ดังนั้น ในการแสดงธรรม โปรดสามัญชนโดยทั่วไป ที่มีวิสัยจะบรรลุธรรม</SMALL>
    <SMALL>ได้ของพระพุทธเจ้านั้น จะทรงแสดงธรรมหมวด อนุปุพพิกถา เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อมของผู้ฟังก่อนเสมอโดยจะทรงเริ่มจากธรรมขั้นพื้นฐาน ไปหาสูงสุด ตามลำดับโดยทรงหวังให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลประเภทที่ ๓ ซึ่งเป็นมนุษย์ส่วน</SMALL>
    <SMALL>ใหญ่ในโลกจะได้มี โอกาสบรรลุธรรม เช่นบุคคลประเภทที่ ๑-๒</SMALL> ได้<SMALL>บ้างโดยใช้ หลักธรรมที่ค่อย ๆ ขัดเกลาจิตใจไปตามลำดับขั้น</SMALL>
    <SMALL>ธรรมที่ทรงแสดงไปตามลำดับนี้ เรียกว่าอนุปุพพิกถา ๕ ซึ่งหากไม่นับธัมม</SMALL>
    <SMALL>จักกัปปวัตนสูตร หรือพระปฐมเทศนา ที่ ทรงแสดงโปรดปัญจวัคคีย์ฤาษีทั้ง ๕</SMALL>
    <SMALL>แล้ว อนุปุพพิกถา ๕ นั้น อาจนับได้ว่าเป็นธรรมหมวดแรก ที่ทรงนำมาแสดง</SMALL>
    <SMALL>แก่ชาวบ้านทั่วไป ที่มิใช่นักบวช ซึ่งชาวบ้านที่ว่านี้มีชื่อว่ายสะกุลบุตร</SMALL>

    <SMALL>อนุปุพพิกถา ๕ ดังกล่าวได้แก่ ทาน คือการให้ ๑ ศีล คือการรักษา</SMALL>
    <SMALL>กาย วาจา ใจ ไม่ให้ล่วงละเมิดสิกขาบท ๑ สัคคะ คืออานิสงค์หรือผลประโยชน์ ที่ได้รับจากการให้ทาน รักษาศีลเช่นเมื่อตายไปแล้วไปเกิดในโลกสวรรค์เป็น</SMALL>
    <SMALL>ต้น ๑ กามาทีนพ</SMALL><SMALL>คือโทษภัยของการลุ่มหลงมัวเมาในกามโลกีย์ ๑ เนกขัมมะ</SMALL>
    <SMALL>คือประโยชน์ของการละขาดจากกามโลกีย์ อันได้แก่การออกบวช ๑</SMALL>
    <SMALL>นี่คือธรรมะขั้นพิ้นฐาน ที่พระพุทธเจ้านำมาใช้ ในการเตรียมความพร้อมของ</SMALL>
    <SMALL>พุทธศาสนิกชน ในการพัฒนาคุณ ภาพชีวิตไปทีละขั้นละตอนเพื่อบรรลุอุดมการณ์</SMALL>
    <SMALL>์สูงสุดของชีวิต ตามคติแห่งพุทธศาสนาคือุพระนิพพาน</SMALL>
    <SMALL>หลักธรรมที่เห็นสั้น ๆ เพียง ๕ ข้อนี้ อันที่จริงเป็นหลักการใหญ่มากจน</SMALL>
    <SMALL>สามารถ พูดได้ว่าการปฎิบัติตามหลักธรรม ในพุทธศาสนาทั้งหมด ๘๔,๐๐๐</SMALL>
    <SMALL>หมวดนั้น ในที่สุดแล้วจะเป็นข้อปฏิบัติปลีกย่อย ของหลักธรรมขั้นพื้นฐานทั้ง ๕ นี้ </SMALL>
    <SMALL>จึงขอสรุปเป็นเบี้องต้นในที่นี้ว่า ธรรมะบทแรกที่พุทธศาสนิกชนควรจะเริ่มต้น ศึกษา คืออนุปุพพิกถาธรรม ๕ ข้อนี้เอง ซึ่งจะได้นำเสนอรายละเอียด ในหน้า</SMALL>
    <SMALL>ต่อ ๆ ไป</SMALL>
     
  2. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    <TABLE height=469 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=772 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=80 bgColor=#c4ffff height=24><SMALL>อนุปุพพิกถา</SMALL></TD><TD vAlign=top align=middle width=164 bgColor=#c4ffff height=24>
    <SMALL>ความหมายหลัก</SMALL>

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=139 bgColor=#c4ffff height=24><SMALL>หมวดธรรมอื่น</SMALL>
    </TD><TD vAlign=top align=middle width=383 bgColor=#c4ffff height=24><SMALL>ความหมาย</SMALL>

    </TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. ทาน</SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ให้ของที่ควรให้ </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>
    ทาน ๒</SMALL>​


    </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. อามิสทาน การให้ปันสิ่งของ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>แก่คนที่ควรให้</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>๒. ธรรมทาน การให้ธรรมะ ให้คำแนะนำ คำสั่งสอน</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>มีอานิสงค์มากกว่าข้อ ๑</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22>
    <SMALL>ทาน ๒ อีกนัยหนึ่ง</SMALL>


    </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. ปาฎิปุคลิกทาน การให้ที่ระบุตัวผู้รับ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>๒. สังฆทาน การให้แก่คณะสงฆ์ โดยไม่ระบุองค์ผู้รับ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>มีอานิสงค์มากกว่าข้อ ๑</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22>
    <SMALL>ทานมัย</SMALL>


    </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>บุญ (ความผุดผ่องแห่งจิต) เกิดจากการให้ทาน</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22>
    <SMALL>ทานบารมี ๑</SMALL>


    </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การสละวัตุสิ่งของ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทานอุปบารมี ๑</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การสละอวัยวะ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทานปรมัตถบารมี ๑</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การสละชีวิต</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>ทานทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นข้อปฏิบัติสำหรับผู้ที่ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>ปรารถถาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อภัยทาน</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การยกโทษให้ ไม่ถือโทษ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทักษิณาทาน</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การให้เพื่ออุทิศผลบุญให้ผู้ตาย</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทานสมบัติ</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การบังเกิดผลของทาน ต้องครบองค์ประกอบ ๓ ข้อ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. เขตสมบัติ ผู้รับทานเป็นคนดี มีศีลธรรม</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. ไทยธรรมสมบัติ สิ่งของที่ให้ทานเป็นของบริสุทธิ์</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. จิตตสมบัติ ก่อนให้มีความยินดี ขณะให้จิตผ่องใส </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ให้เสร็จแล้วจิตเบิกบาน</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    <TABLE height=469 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=772 border=0><TBODY><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. ศีล</SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การรักษาปกติกาย</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ศีล ๕</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. งดเว้นการฆ่า</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>วาจา และใจ</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. งดเว้นการล่วงละเมิดในทรัพย์ของผู้อื่น</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. งดเว้นการล่วงประเวณ๊</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๔. งดเว้นการกล่าวเท็จ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL>๕. งดเว้นการเสพสุรา และสิ่งที่ทำให้มัวเมา ขาดสติ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=11><SMALL> เป็นศีลสำหรับปุถุชนสามัญทั่วไปรักษา</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ศีลมัย</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>บุญ (ความผุดผ่องแห่งจิต) ที่เกิดจากการรักษาศีล</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อธิศีลสิกขา</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การรักษาศีลในขั้นสูง (คู่กับสมาธิและปัญญา เรียกว่า</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22> </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ไตรสิกขา)</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สีลวิสุทธิ</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ความหมดจดแห่งศีล คือรักษาศีลตามภูมิขั้นของตน </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ให้บริสุทธิ์</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ศีล ๘</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. เว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. เว้นจากการลักขโมย</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๔. เว้นจากการพูดเท็จ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๕. งดเว้นการเสพสุรา และสิ่งที่ทำให้มัวเมา ขาดสติ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๖. เว้นจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๗. เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการละเล่น </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอม </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>และเครื่องลูบไล้ ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๘. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่หรูหราฟุ่มเฟือย</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ศีล ๘ นี้ สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ เรียกว่า </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อุโบสถศีล เป็นศีลที่อุบาสกอุบาสิการักษา</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ศีล ๑๐</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑-๖ เหมือนศีล ๘</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๗. เว้นจากการฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการละเล่น </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22>๘. <SMALL>เว้นจากการทัดทรงดอกไม้ ของหอม และเครื่องลูบไล้ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๙. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่หรูหราฟุ่มเฟือย</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑๐. เว้นจากการรับทองและเงิน </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> สิกขาบท ๑๐ นี้เป็นศีลที่สามเณรและสามเณรีรักษา </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เป็นประจำ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ปาฏิโมกขศีล</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>คือพระวินัยของพระภิกษุ มี ๒๒๗ ข้อ และพระวินัยของ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ภิกษุณี มี ๓๑๐ ข้อ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22>
    <SMALL>ศีลบารมี </SMALL>
    </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> แบ่งเป็น ๓ ลำดับชั้น คือศีลบารมี ๑ ศีลอุปบารมี ๑</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22> </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ศีลปรมัตถบารมี ๑ ศีลทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นข้อปฏิบัติ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22> </TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สำหรับผู้ที่ปรารถถาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    <TABLE height=469 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=772 border=0><TBODY><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. สัคคะ</SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สวรรค์คือโลกของเทวดา</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> กามาวจรสวรรค์ ๖</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เป็นสวรรค์ชั้นที่ยังเกี่ยวข้องกับกาม (มีครอบครัว) </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ผู้ที่ให้ทานและรักษาศีล </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เรียงจากชั้นต่ำขึ้นไปดังนี้</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๕ เป็นนิจเมื่อตายไปจะ</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. จาตุมหาราชิกา สวรรค์ที่ท้าวมหาราช ๔ หรือท้าวจตุ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>บังเกิดในโลกสวรรค์นี้</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> โลกบาลปกครองประจำทิศทั้งสี่ คือ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL> ตามทัศนของพุทธ</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL>-ท้าวธตรฐ จอมคนธรรพ์ ครองทิศตะวันออก</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL>ศาสนาถือว่าในสุริยจักร</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=3><SMALL>-ท้าววิรูฬหก จอมกุมภัณฑ์ ครองทิศใต้</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=6><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=6><SMALL>วาลยังมีโลกอื่นอยู่ด้วย</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=6><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=6><SMALL>-ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค ครองทิศตะวันตก</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL>แต่มีความละเอียดอ่อน</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL>-ท้าวกุเวร หรือเวสสวัณ จอมยักษ์ ครองทิศเหนือ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL>จนไม่สามารถเห็นได้</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL>๒. ดาวดึงส์ แดนที่อยู่แห่งเทพ ๓๓ มีท้าวสักกะ หรือพระ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ด้วยตาเนื้อ เรียกว่าโลก</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> อินทร์เป็นจอมเทพ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทิพย์ หรือเทวโลกอันได้</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. ยามา แดนที่อยู่แห่งเทพผู้ปราศจากทุกข์ มีท้าวสุยาม </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>แก่โลกสวรรค์</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> เป็นผู้ปกครอง</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ผู้ที่ฝึกจิตจนบรรลุฌาน</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๔. ดุสิต แดนที่อยู่แห่งเทพผู้เอิบอิ่มด้วยสิริสมบัติของตน </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ขั้นทิพจักษุ จะสามารถ</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> มีท้าวสันดุสิตเป็นจอมเทพ ถือกันว่าเป็นที่อุบัติของ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เห็นโลกสวรรค์หรือโลก</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> พระโพธิสัตว์ ในพระชาติสุดท้ายก่อนจะเป็นพระพุทธ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทิพย์ได้</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> เจ้าและเป็นที่อุบัติของพระพุทธมารดา</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๕. นิมมานรดีแดนที่อยู่แห่งเทพผู้มีความยินดีในการ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> เนรมิต มีท้าวสุนิมมิตเป็นจอมเทพ ถือกันว่าเทวดาชั้น </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> นี้ปรารถนาสิ่งใดสิ่งหนึ่งย่อมนิรมิตได้เอง </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๖. ปรนิมมิตวสวัตดีแดนที่อยู่แห่งเทพผู้ยังอำนาจให้เป็น </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ไปในสมบัติที่ผู้อื่นนิรมิตให้คือเสวยสมบัตที่เทพพวกอื่น</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> นิรมิตให้ มีท้าววสวัตดีเป็นจอมเทพ </SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    <TABLE height=469 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=772 border=0><TBODY><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๔. กามา </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> โทษภัยของกาม</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> กาม ๒</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. กิเลสกาม กิเลสที่ทำให้ใคร่, ความอยากที่เป็นตัวกิเลส </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ทีนพ</SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา, สิ่งที่</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> อยากได้, กามคุณ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=5><SMALL>กิเลส คือสิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง อันได้แก่ ความโลภ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=4><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=4><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=4><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=4><SMALL>โกรธ หลง เป็นภัยร้ายของจิต ชักจูงให้จิตก่อกรรมชั่ว</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=7><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=7><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=7><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=7><SMALL>ต่าง ๆ เมื่อก่อกรรม ก็รับผลกรรม ส่งผลให้ไปเกิดใน </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL>ภพภูมิต่าง ๆ หากกิเลสยังไม่สิ้น ก็ก่อกรรมใหม่อีก วนไป</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=1><SMALL>ไม่มีที่สิ้นสุด เรียกว่าวัฏฏะ คือ กิเลศ กรรม วิบาก</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=2><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=2><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=2><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=2><SMALL>การบรรลุอรหันต์เท่านั้น จึงยุติการวนเวียนนี้ได</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>กามคุณ ๕</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑. รูปะ รูป ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๒. สัททะ เสียง ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๓. คันธะ กลิ่น ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๔. รสะ รส ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๕. โผฏฐัพพะ สัมผัสทางกาย ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ส่วนที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ อันเกิดขึ้นทางสัมผัส </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ทั้ง ๕ นั้น เรียกว่า กามคุณ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>กามตัณหา</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้กามคุณ คือสิ่ง</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สนองความต้องการทางประสาทสัมผัส ทั้ง ๕ ข้างต้น</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> กามราคะ</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ความกำหนัดในกาม, ความติดใจในกามคุณ จัดเป็น </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๑ ในสังโยชน์ ๑๐ (ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ ไม่สาสารถ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>หลุดพ้นไปจากโลกได้)</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>กามสุคติภูมิ ๗</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ภูมิที่เป็นสุคติซึ่งยังเกี่ยวข้องกับกาม ได้แก่โลกมนุษย์</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>และโลกสวรรค์ ๖ ขั้น</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    <TABLE height=469 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=772 border=0><TBODY><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>๕. เนกขัม </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ผลดีของการบวช</SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> บวช หรือบรรพชา</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>คือเว้นจากความชั่วทุกอย่าง อันหมายถึง การบวชทั่วไป,</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> มานิสงค์</SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> มาจากคำบาลีว่า</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>การบวชอันเป็นบุรพประโยคแห่งอุปสมบท เดิมทีเดียว</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> ปวช แปลว่าเว้นทั่ว</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>หมายถึงบวชเป็นภิกษุ เช่น เสด็จออกบรรพชา อัครสาวก</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>บรรพชา เป็นต้น ปัจจุบันนี้ คำว่า บรรพชา หมายถึงบวช </SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เป็นสามเณร ถ้าบวชเป็นภิกษุ ใช้คำว่าอุปสมบท</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>บรรพชิต </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>หมายถึงนักบวช ในภาษาไทยปัจจุบันได้แก่ภิกษุและ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สามเณร ซึ่งนิยมใช้เป็นคำรงกันข้าม กับคำว่า ฆราวาส</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ที่แปลว่าผู้ครองเรือน</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ภิกษุ </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>แปลว่า ผู้ขอ หรือเห็นภัยในสังขาร หมายถึงพระผู้ชาย</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL><SMALL> </SMALL></SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>คู่กับ ภิกษุณี ที่หมายถึงพระผู้หญิง</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เอหิภิกขุ</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>เป็นคำเรียกภิกษุที่ได้รับอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>โดยตรง</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สมณะ</SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>ผู้สงบระงับจากกิเลส</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>สงฆ์ </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็นสมมติสงฆ์ และ</SMALL></TD></TR><TR><TD width=80 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=164 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=139 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL> </SMALL></TD><TD width=383 bgColor=#f0f0ff height=22><SMALL>อริยสงฆ์ </SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. newhatyai

    newhatyai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,768
    ค่าพลัง:
    +6,203
    หลักคำสอนที่เกี่ยวเนื่องกับ อนุปุพพิกถา ๕ โดยเฉพาะในข้อสุดท้าย คือการออกบวช ซึ่งชาวพุทธในประเทศ ไทย นิยมพูดกันติดปากว่า บวชเรียน นั่นแปลว่าเมื่อบวชแล้วต้องเรียน คำถามก็คือว่าเรียนอะไร หรืออะไรคือสิ่งที่ผู้ บวชจะต้องเรียน เรื่องนี้มีปรากฎชัดเจนในพระไตรปิฎกว่า สิ่งที่ผู้ บวชจะต้องเรียนได้แก่ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ
    <SMALL>และ</SMALL>
    <SMALL>ปัญญา
    เพียง ๓ คำสั้น ๆ ดูเหมือนจะเป็นของง่าย แต่เอาเข้าจริงแล้วบางคนอาจต้องใช้เวลาตลอดชีวิต หรือมากกว่านั้น</SMALL> <SMALL>ที่จะศึกษาให้ถ่องแท้ได้</SMALL>
    <SMALL> สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพพระสังฆราชเจ้า ผู้ทรงวางรากฐานการศึกษา พระพุทธศาสนาแก่กุลบุตรไทย ที่มีศรัทธาเข้ามาบรรพชาอุปสมบทในพุทธศาสนา ซึ่งโดยมากบวชเรียนกัน เพียงหนึ่ง พรรษา หรือ ๓ เดือน จึงเป็นไปไม่ที่จะศึกษาเรื่องของ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้แตกฉานได้ จึงได้ทรงนิพนธ์หนังสือขึ้นมา เล่มหนึ่งชื่อว่า
    นวโกวาท แปลว่า คำสอนสำหรับผู้บวชใหม่</SMALL>

    <SMALL> หนังสือ
    นวโกวาท นี้เป็นหลักสูตรการเรียนพระพุทธศาสนา ระดับนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี หนังสือเล่มนี้</SMALL>
    <SMALL>ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศด้วย เนื้อหาจะแบ่งเป็น ๓ ภาค ในภาคแรกว่าด้วยศีล ๒๒๗ ข้อ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็น</SMALL>
    <SMALL>ที่ผู้บวชเรียนจะต้องศึกษา จดจำ และนำไปปฏิบัติให้ถูกต้อง ภาคที่ ๒ ว่าด้วยธรรมขั้นพื้นฐาน ที่ทุกคนควรเรียนรู้ ส่วน</SMALL>
    <SMALL>ภาคสุดท้ายว่า
    คิหิปฎิบัติ คือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ครองเรือน หรือฆราวาสชนทั่วไป ซึ่งจะเป็นหัวข้อธรรม ที่ผู้จัดทำจะนำ</SMALL>
    <SMALL>มาเสนอในที่นี้เป็นลำดับไป</SMALL>
     
  8. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,865
    ที่สุดจริง ท่านสอนอยู่ 2 เรื่อง ครับ

    1. เรื่องทุกข์
    2. วิธีการดับทุกข์

    เท่านั้นแหละครับ
     
  9. hoto

    hoto เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +720
    ที่สุดจริง ท่านสอนอยู่ 2 เรื่อง ครับ

    1. เรื่องทุกข์
    2. วิธีการดับทุกข์

    เท่านั้นแหละครับ

    ************************************

    ถูก กกกกกกก....ต้อง นะคร๊าบบบ
    <!-- / message -->
     
  10. hoto

    hoto เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +720
    ทุกข์ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ

    1. ทุกขเวทนา คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ

    2. ทุกขลักษณะ คือ ทุกข์ในไตรลักษณ์ มีลักษณะไม่สามารถตั้งอยู่ในสภาพเดิมได้ ต้องเสื่อมไป ความสุขก็คือความทุกข์อย่างหนึ่งเพราะไม่สามารถตั้งอยู่ได้ในสภาพสุขตลอดไป ย่อมมีความเปลี่ยนแปลงไป

    3. ทุกขสัจจ์ คือ ความทุกข์ในวัฎฎะสงสาร เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์

    ************************************************
    พระพุทธองค์ทรงมีการแก้ทุกข์โดยใช้ อริยสัจ4 เป็นเครื่องมือในการดับทุกข์
    พุทธศาสนิกชนพึงได้กระทำตามรอยพระบาท อย่าให้เกิดมาแล้วตายเปล่านะครับ
    ถ้า งง ๆ ไม่รู้จะเริ่มอย่างไร พระเดชพระคุณหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ท่านได้ให้แนวทางไว้แล้วนะครับ ลองไปศึกษาดู

    <TABLE class=start cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%" border=0><TBODY><TR><TD>จิตที่ส่งออกนอก</TD><TD width=16></TD><TD>เป็นสมุทัย</TD></TR><TR><TD>ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก</TD><TD></TD><TD>เป็นทุกข์</TD></TR><TR><TD>จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง</TD><TD></TD><TD>เป็นมรรค</TD></TR><TR><TD>ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต</TD><TD></TD><TD>เป็นนิโรธ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. ดาราจักร

    ดาราจักร ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,707
    ค่าพลัง:
    +10,094
    ทุกข์ คือ ชีวิต ชีวิต คือ ทุกข์

    สัพเพ สังขารา ทุกขา

    สัพเพ สังขารา อนิจจา

    สัพเพ ธัมมา อนัตตา

    อนุโมทนาครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...