เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • jan23_2013_cme.jpg
      jan23_2013_cme.jpg
      ขนาดไฟล์:
      72.6 KB
      เปิดดู:
      57
    • GOEShp.gif
      GOEShp.gif
      ขนาดไฟล์:
      9.7 KB
      เปิดดู:
      54
    • Kp.gif
      Kp.gif
      ขนาดไฟล์:
      7.6 KB
      เปิดดู:
      52
  2. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพครับ

    หลายท่านถามถึงรายละเอียดของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในวันที่ 23 ที่ผ่านมาว่าจะมีผลต่อโลกอย่างไร ผมแนะนำให้ทุกท่านที่สนใจ สังเกตการเปลี่ยนแปลงต่อโลกในระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม เป็นพิเศษ และเพื่อให้ท่านเห็นความสัมพันธ์ได้ด้วยตัวเองซึ่งอาจได้หลายรูปแบบ โดยผมจะรายงานข่าวสารต่างๆให้ทุกท่านได้ทราบเพื่อประกอบการพิจารณา ดังนี้

    เหตุการณ์ครั้งนี้จะสังเกตได้ทั้งที่พึ้นผิวดวงอาทิตย์ ซึ่งมีเปลวพลาสม่าขนาดใหญ่ออกมา
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=0aoguae3wBY&feature=share&list=UUMnTI0B3ccJuv_JVL0wPf4g]Solar prominences on Jan. 23, 2013 - YouTube[/ame]

    และ เปลวพลังงานนี้สามารถมองเห็นได้จากมารอบๆดวงอาทิตย์หลายทิศทาง เช่น
    - http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2013/01/23/ahead_20130123_cor2_512.mpg - โลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ
    - http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2013/01/23/behind_20130123_cor2_512.mpg - โลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ

    แต่ปฏิกริยาครั้งนี้ส่งพลังงานออกเป็นมุมที่ไม่กว้างมากนักถ้าสังเกตจากโลก ซึ่งสามารถตรงสอบได้จากที่นี่
    CACTus Diagostics

    นอกจากนั้นเหตุการณ์ครั้งนี้ ไม่ส่งพลังงาน X-ray ออกมามากนักบ่งบอกถึงปฏฺิกริยาดวงอาทิตย์ที่มากกว่าปกติเกิดขึ้นได้โดยไม่สัมพันธ์กับพลังงาน X-ray flare เสมอไป โดยช่วงนี้ตรงกับช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงอยู่ในระดับต่ำ ESA Daily Sun Spot Number แต่ก็พบความเปลี่ยนแปลงใต้ผิวดวงอาทิตย์มากเป็นพิเศษ http://sdo.gsfc.nasa.gov/assets/img/dailymov/2013/01/25/20130125_1024_HMIB.mpg

    เหตุการณ์ครั้งนี้ ส่งพลังงานออกมาหลายทิศทาง โดยมีทิศทางบางส่วนตรงกับโลก จากโมเดลบ่งบอกว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 26 มกราคม เวลาประมาณ 11:26 UT +/- 6 ชั่วโมง
    - iNtegrated Space Weather Analysis System ( iSWA ) : iswax : Version 1.13.2 [Conan/ISEP]
    - http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=491858738

    ส่วนที่มีทิศทางตรงกับโลกนั้นจะมีผลในเรื่องระบบสื่อสารนอกโลก ระบบไฟฟ้า และ สภาพอากาศเป็นหลัก แต่ส่วนที่ไม่ตรงกับโลกส่วนใหญ่จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงใต้โลกที่มากกว่าปกติ รวมถึงสภาพอากาศเช่นกัน และพลังงานบางส่วนได้เข้ามาแล้วตั้งแต่ปลายของวันที่ 25 ที่ผ่านมาโดยดูจากการแกว่งตัวของพลังงานไฟฟ้ารอบๆโลก http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=492372278 (ซึ่งบางส่วนมาจากปฏิกริยาดวงอาทิตย์วันที่ 21-22 มค ซึ่งผมได้รายงานให้ทราบก่อนหน้านึ้)

    ช่วงนี้ยังตรงกับวันทางดาราศาสตร์ โดยเริ่มเข้าสู่ช่วงดวงจันทร์เต็มดวง - ระหว่าง 26-28 มค Moon phase for 26 January 2013 Saturday ดังนั้นให้ลองสังเกตไปพร้อมๆกันครับ
     
  3. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Matt Melnyk captured this nice Aurora image during the early hours of January 26th near Edmonton, Alberta, Canada. The elevated solar wind stream was responsible for displays like this at very high latitudes.

    Image Details: Canon EOS 5D Mark II, ISO-640, f/2.8, 4 sec. exposure.


    แมตต์นิก ถ่ายภาพ Auroraนี้ได้ในช่วงหัวค่ำของวันที่ 26 มกราคมใกล้เอดมันตัน, อัลเบอร์ต้า,
    แคนาดา นี่คือผลจากพลังสุริยะที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ทำให้เราได้เห็นแสงอโรลร่าอันสวยงาม

    รายละเอียดรูปภาพ:ถ่ายโดยกล้อง Canon EOS 5D Mark II, ISO-640, f/2.8, 4 วินาที


    [​IMG]
     
  4. siamblogza

    siamblogza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    398
    ค่าพลัง:
    +2,590
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Epam_p_24h.gif
      Epam_p_24h.gif
      ขนาดไฟล์:
      15.9 KB
      เปิดดู:
      844
    • latest.jpg
      latest.jpg
      ขนาดไฟล์:
      141.6 KB
      เปิดดู:
      826
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=HugqWAKguQI]Volcano / Earthquake Watch Jan 25-28, 2013 - YouTube[/ame]
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    NOTE:forecasts are valid from 1230UT, 28 Jan 2013 until 30 Jan 2013

    PREDICTIONS FOR 28 Jan 2013 10CM FLUX: 099 / AP: 002
    PREDICTIONS FOR 29 Jan 2013 10CM FLUX: 100 / AP: 003
    PREDICTIONS FOR 30 Jan 2013 10CM FLUX: 100 / AP: 003

    COMMENT: Flaring activity is quiet. Some C-level activity is detected on the east limb. The magnetic field imbedded in the solar wind near the Earth is below 4 nT. The solar wind speed is around 400 km/s. The geomagnetic conditions are quiet. We expect them to stay quiet.

    ปฏิกิริยาดวงอาทิตย์ยังคงเงียบอยู่ มี C-Class เล็กน้อยตรงด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ มีความเร็วลมสุริยะ 400 กิโลเมตร/วินาที และยังคาดว่าจะเงียบๆ อย่างนี้ไปอีก
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    มีนานี้จะมีดาวหางที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

    GREEN COMET LEMMON: 2013 could be the Year of the Comet. Comet Pan-STARRS is set to become a naked eye object in march, followed by possibly-Great Comet ISON in November. Now we must add to that list green Comet Lemmon (C/2012 F6). "Comet Lemmon is putting on a great show for us down in the southern hemisphere," reports John Drummond, who sends this picture from Gisborne, New Zealand

    [​IMG]

    "I took the picture on Jan. 23rd using a 41 cm (16 in) Meade reflector," says Drummond. "It is a stack of twenty 1 minute exposures." That much time was required for a good view of the comet's approximately 7th-magnitude coma ("coma"=cloud of gas surrounding the comet's nucleus).

    Lemmon's green color comes from the gases that make up its coma. Jets spewing from the comet's nucleus contain cyanogen (CN: a poisonous gas found in many comets) and diatomic carbon (C2). Both substances glow green when illuminated by sunlight in the near-vacuum of space.

    Discovered on March 23rd 2012 by the Mount Lemmon survey in Arizona, Comet Lemmon is on an elliptical orbit with a period of almost 11,000 years. This is its first visit to the inner solar system in a very long time. The comet is brightening as it approaches the sun; light curves suggest that it will reach 2nd or 3rd magnitude, similar to the stars in the Big Dipper, in late March when it approaches the sun at about the same distance as Venus (0.7 AU). Northern hemisphere observers will get their first good look at the comet in early April; until then it is a target exclusively for astronomers in the southern hemisphere.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids


    ดาวหางสีเขียว Lemmon: ดาวหาง Pan-Starrs จะมาให้เรามองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ในเดือนมีนาคม ตามด้วยดาวหางใหญ่ ISON ในเดือนพฤศจิกายน ตอนนี้เราต้องเพิ่มดาวหางสีเขียว Lemmon (C/2012 F6) ไปในลีส "ดาวหาง Lemmon จะแสดงให้เราดูบนฟ้าอย่างสวยงามในแถบซีกโลกใต้" เจ้าดาวหางนี้จะมาเยือนเราทุกๆ 11,000 ปี...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มกราคม 2013
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Record Setting Asteroid Flyby


    Jan. 28, 2013: Talk about a close shave. On Feb. 15th an asteroid about half the size of a football field will fly past Earth only 17,200 miles above our planet's surface. There's no danger of a collision, but the space rock, designated 2012 DA14, has NASA's attention.

    "This is a record-setting close approach," says Don Yeomans of NASA's Near Earth Object Program at JPL. "Since regular sky surveys began in the 1990s, we've never seen an object this big get so close to Earth."

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=GwidzVHvbGI]ScienceCast: Record-Setting Asteroid Flyby - YouTube[/ame]

    Earth's neighborhood is littered with asteroids of all shapes and sizes, ranging from fragments smaller than beach balls to mountainous rocks many kilometers wide. Many of these objects hail from the asteroid belt, while others may be corpses of long-dead, burnt out comets. NASA's Near-Earth Object Program helps find and keep track of them, especially the ones that come close to our planet.

    2012 DA14 is a fairly typical near-Earth asteroid. It measures some 50 meters wide, neither very large nor very small, and is probably made of stone, as opposed to metal or ice. Yeomans estimates that an asteroid like 2012 DA14 flies past Earth, on average, every 40 years, yet actually strikes our planet only every 1200 years or so.

    The impact of a 50-meter asteroid is not cataclysmic--unless you happen to be underneath it. Yeomans points out that a similar-sized object formed the mile wide Meteor Crater in Arizona when it struck about 50,000 years ago. "That asteroid was made of iron," he says, "which made it an especially potent impactor." Also, in 1908, something about the size of 2012 DA14 exploded in the atmosphere above Siberia, leveling hundreds of square miles of forest. Researchers are still studying the "Tunguska Event" for clues to the impacting object.

    "2012 DA14 will definitely not hit Earth," emphasizes Yeomans. "The orbit of the asteroid is known well enough to rule out an impact."
    2012 DA (flyby, 200px)
    A schematic diagram of the Feb 15th flyby. More

    Even so, it will come interestingly close. NASA radars will be monitoring the space rock as it approaches Earth closer than many man-made satellites. Yeomans says the asteroid will thread the gap between low-Earth orbit, where the ISS and many Earth observation satellites are located, and the higher belt of geosynchronous satellites, which provide weather data and telecommunications.

    "The odds of an impact with a satellite are extremely remote," he says. Almost nothing orbits where DA14 will pass the Earth.

    NASA's Goldstone radar in the Mojave Desert is scheduled to ping 2012 DA14 almost every day from Feb. 16th through 20th. The echoes will not only pinpoint the orbit of the asteroid, allowing researchers to better predict future encounters, but also reveal physical characteristics such as size, spin, and reflectivity. A key outcome of the observing campaign will be a 3D radar map showing the space rock from all sides.

    During the hours around closest approach, the asteroid will brighten until it resembles a star of 8th magnitude. Theoretically, that’s an easy target for backyard telescopes. The problem, points out Yeomans, is speed. “The asteroid will be racing across the sky, moving almost a full degree (or twice the width of a full Moon) every minute. That’s going to be hard to track.” Only the most experienced amateur astronomers are likely to succeed.

    Those who do might experience a tiny chill when they look at their images. That really was a close shave.

    For more information about 2012 DA and other asteroids of interest, visit NASA’s Near-Earth Object Program web site: http://neo.jpl.nasa.gov


    Author: Dr. Tony Phillips |Production editor: Dr. Tony Phillips | Credit: Science@NASA


    อุกาบาตที่จะมาใกล้โลกวันที่ 15 กุมภาพันธ์นี้ ขนาดประมาณครึ่งสนามฟุตบอลและจะผ่านโลกประมาณ 17,200 ไมล์จากพื้นดิน มันจะไม่มีอันตรายที่จะชนโลกจากการสำรวจของนาซ่า และได้ชื่อว่า 2012 DA14

    2012 Da14 มันเป็นอุกาบาตที่วิ่งมาเฉียดโลกใกล้มาก และวัดขนาดความกว้างได้ 50 เมตร และมันก็ไม่ได้ใหญ่ หรือ ไม่ได้เล็กมาก และมันก็ประมาณว่ามีแต่ก้อนหินซึ่งต่างจากโลหะหรือน้ำแข็ง Yeomans กล่าวว่า อุกาบาตแบบตัวนี้ จะผ่านโลกเฉลี่ย ทุกๆ 40 ปี และจะชนโลกจริงๆ แค่ทุก 1200 ปี

    การที่อุกาบาตขนาดกว้าง 50 เมตรมันไม่ได้ทำให้เกิดความเสียหายขั้นรุนแรง แต่ถ้ามันตกใส่คุณหล่ะก็ไม่แน่ Yeomans กล่าวว่ามันมีกรณีใกล้ๆ กัน คือ อุกาบาตขนาดใกล้เคียงกัน ที่พุ่งชนโลกเมื่อ 50,000 ปีก่อน อุกาบาตอันนั้นประกอบด้วยธาตุเหล็ก อันนั้นมันมีศักยภาพในการทำลายได้ หรือกรณีในปี 1908 บางอย่างที่ขนาดเท่ากับ 2012 DA14 นี้ที่เข้ามายังโลกตกลงแถวไซบีเรีย และทำให้เกิดหลุมขนาดใหญ่ หลายลูกบาตรเมตร นักวิจัยยังคงศึกษา Tungusak Event ในการหาเหตุของการทำลายล้าง

    Yeomans กล่าวอีกว่า อุกาบาตนี้จะไม่ชนโลก เพราะวงโคจรของมันเราทราบได้ดี สามารถคาดการณ์ความเสียหายได้

    และยังกล่าวอีกว่า เจ้าอุกาบาตตัวนี้ มันอยู่ระหว่างวงโคจรดาวเทียมระดับต่ำ และดาวเทียมระดับสูง อย่างพวกดาวเทียมตรวจอากาศหรือทางการสื่อสาร

    และในวันดังกล่าวเราสามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องดูดาวหลังบ้าน เพราะมันมีความสว่างประมาณ 8th magnitude แต่คาดว่าพวกนักดูดาวสมัครเล่นน่าจะมีโอกาสได้ดูมากกว่าคนทั่วๆ ไป
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    สรุปปฏิกริยาดวงอาทิตย์ของอาทิตย์นี้

    SOLAR ACTIVITY
    --------------

    Eight sunspot groups were reported during the week, with the following NOAA AR numbers (Catania numbers given in brackets): 1654 (64), 1658 (69), 1660 (70 and 71), 1661 (72), 1662 (74), and 1663 (no Catania number), as well as Catania sunspot group 73 (no NOAA AR number). The flaring activity was below the C-level, with the strongest flare of the week being the B7.7 flare peaking on January 22 at 10:33 UT in Catania sunspot group 70 (NOAA AR 1660).

    A partial halo CME was detected by SOHO/LASCO on January 23, first appearing in the LASCO C2 field of view at 14:00 UT. It had the angular width around 240 degrees and projected plane-of-the-sky speed around 560 km/s. The CME was associated with a filament eruption around N19E43, coronal dimmings, an EIT wave, and a post-eruption arcade observed by SDO/AIA. The CME was directed northward of the Sun-Earth line and did not arrive at the Earth.

    A low-latitude coronal hole in the southern hemisphere reached the solar central meridian on January 22. The corresponding fast solar wind stream arrived at the Earth on January 26 (see below).

    GEOMAGNETIC ACTIVITY
    --------------------

    In the beginning of the week the Earth was situated inside a slow solar wind flow. The geomagnetic situation was quiet. On January 26 the Earth entered the fast solar wind stream from a low-latitude coronal hole in the southern hemisphere (see above) as the solar wind speed reached 550 km/s. On January 26 minor storm conditions (K = 5) were reported by Dourbes and IZMIRAN, and active geomagnetic conditions (K = 4) were reported by NOAA. On January 27 the solar wind speed started to decrease and geomagnetic conditions returned to quiet.

    [​IMG]
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    MAGNETIC FILAMENT: A bushy filament of magnetism is snaking over the sun's northeastern limb. NASA's Solar Dynamics Observatory took this extreme UV picture of the structure, which stretches more than 150,000 km from end to end, during the early hours of Jan. 30th:

    [​IMG]

    If this filament becomes unstable, as bushy magnetic filaments often do, it could erupt and hurl a portion of itself into space. Amateur astronomers with backyard solar telescopes are advised to monitor developments.

    If the filament does erupt, it will likely be the only solar activity today. No sunspots are actively flaring. NOAA forecasters estimate a slim 1% chance of M-class solar flares during the next 24 hours.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  13. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเพจ อ.ก้องภพครับ

    วันที่ 29 มกราคม เวลา 14:36 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่อีกครั้ง ส่งพลังงานออกไปทางด้านที่ตรงกันข้ามกับโลก จากโมเดลพบว่าพลังงานบางส่วนจะเดินทางผ่านในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ เวลา 18 UT +/- 10 ชั่วโมง

    ในช่วงเวลาเดียวกันนั้นยังเป็นช่วงที่จุดดับบนดวงอาทิตย์ลดลงอยู่ในระดับต่ำ แต่มีการขยายตัวของแนวสนามแม่เหล็กใต้ผิวขนาดใหญ่ใต้ผิวดวงอาทิตย์ด้านเดียวกับโลก ในระหว่างวันที่ 26-27 มกราคม ที่ผ่านมา ดังนั้นผู้ที่สนใจสามารถติดตามสถานการณ์ที่โลกตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 3 เมษายน และขออภัยมา ณ ที่นี้ที่รายงานสถานการณ์ให้ทราบล่าช้าไปครับ

    ข้อมูลของเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ครั้งนี้มีดังนี้

    - ภาพถ่ายปฏิกริยาดวงอาทิตย์มุมกว้าง โดยโลกอยู่ทางซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2013/01/29/ahead_20130129_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายปฏิกริยาดวงอาทิตย์มุมกว้าง โดยโลกอยู่ทางซ้ายมือของภาพ
    http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2013/01/29/behind_20130129_cor2_512.mpg
    - วิดิโอการขยายตัวของสนามแม่เหล็กใต้ผิวดวงอาทิตย์ http://sdo.gsfc.nasa.gov/assets/img/dailymov/2013/01/27/20130127_1024_HMIB.mpg
     
  14. starme

    starme เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    288
    ค่าพลัง:
    +2,277
    ขอบคุณสำหรับข่าวค่ะ :cool::cool:
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ERUPTING MAGNETIC FILAMENT: As expected, an unstable filament of magnetism curling over the sun's northeastern limb erupted today. NASA's Solar Dynamics Observatory recorded the blast at approximately 0515 UT on Jan. 31st:

    [​IMG]


    Despite the obvious energy of the blast, very little of the filament actually flew into space. The sun's gravity pulled most of the debris back to the stellar surface. So this eruption was primarily photogenic, not geoeffective.

    Elsewhere on the sun, no sunspots are actively flaring. NOAA forecasters estimate a slim 1% chance of M-class or X-class solar flares during the next 24 hours

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ปริมาณรังสีคอสมิคเพิ่มขึ้นโดยฉับพลัน

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • now.gif
      now.gif
      ขนาดไฟล์:
      11.3 KB
      เปิดดู:
      815
  17. FALCON1

    FALCON1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,521
    ค่าพลัง:
    +4,863


    รังสีคอสมิคคืออะไร


    รังสีคอสมิค เป็นรังสีที่มีพลังงานสูงมากพอๆ กับการระเบิดของพลังงานนิวเคลียร์ เราได้รับรังสีประเภทนี้จากนอกโลกเป็นส่วนใหญ่ เช่น จากดวงอาทิตย์ เป็นต้น ความจริงแล้วโลกของเราได้รับรังสีคอสมิคจากภายนอกโลกโดยตรง แต่โชคดีที่เรายังมีบรรยากาศรอบๆ โลก ช่วยกรองให้รังสีคอสมิคมาถึงโลกของเราเจือจางลง รังสีคอสมิคมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือโปรตรอนและอนุภาคอัลฟา บางครั้งส่วนประกอบเหล่านี้ปะทะกลับโมเลกุลของอากาศในบรรยากาศแล้วเกิดเป็นรังสีคอลมิคแบบทุติยภูมิขึ้นมา ลักษณะของรังสีคอสมิคก็คือมันจะมีพลังงานในการทะลุทะลวงสูงมาก มันสามารถที่จะทะลุเข้าไปในตะกั่วได้ลึกถึง 1 เมตร และยังสามารถทะลุทะลวงเข้าไปในดิน ในทะเลได้เป็นอย่างดีด้วย

    C5-WarRoom Falkman
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • World_tec.gif
      World_tec.gif
      ขนาดไฟล์:
      23.1 KB
      เปิดดู:
      750
    • WorldIMap.gif
      WorldIMap.gif
      ขนาดไฟล์:
      29.9 KB
      เปิดดู:
      762
  19. FALCON1

    FALCON1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,521
    ค่าพลัง:
    +4,863
    รังสีคอสมิกจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    สเปกตรัมพลังงานของรังสีคอสมิก
    รังสีคอสมิก (อังกฤษ: Cosmic ray) แท้จริงแล้วไม่ใช่รังสี เพราะเดิมทีมีความเข้าใจผิดคิดกันว่ามันคือปรากฏการณ์ของแสงสว่าง แต่แท้จริงแล้วมันคืออนุภาคพลังงานสูงจากอวกาศ ที่เกิดจากธาตุชนิดเดียวกันที่ทำให้เกิดจักรวาล ดาราจักรทางช้างเผือก โลก ดาวนิวตรอน หลุมดำ และ ดวงอาทิตย์ เป็นต้น ปะทะกับชั้นบรรยากาศของโลก ประมาณ 90% ของอนุภาครังสีคอสมิกที่เข้ามาเป็นโปรตอน 9% เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม (อนุภาคอัลฟา) และอีก 1% เป็นอิเล็กตรอน (อนุภาคเบต้าลบ) การที่เรียกอนุภาคนี้ว่า "รังสี" ที่จริงเป็นการเรียกที่ผิด เพราะอนุภาคคอสมิกที่วิ่งเข้ามานั้นเป็นอิสระต่อกัน ไม่ได้มาในรูปของรังสีหรือลำแสงอนุภาค

    อนุภาคพลังงานที่แตกต่างกันนั้นแสดงถึงแหล่งกำเนิดพลังงานที่แตกต่างกัน ต้นกำเนิดของอนุภาคเหล่านี้มาจากหลายๆ แหล่งเช่น จากกระบวนการแผ่พลังงานของดวงอาทิตย์ ไปจนถึงปรากฏการณ์อื่นในห้วงเอกภพอันไกลที่เรามองไม่เห็น รังสีคอสมิกอาจมีพลังงานสูงกว่า 1020 eV ซึ่งสูงกว่าอนุภาคที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้จากเครื่องเร่งอนุภาคที่สูงสุดเพียง 1012-1013 eV เท่านั้น จึงน่าสนใจว่า แหล่งกำเนิดรังสีคอสมิกเหล่านี้มีพลังงานสูงเพียงใด.[1]

    รังสีคอสมิกที่ทะลุผ่านชั้นบรรยากาศของโลกนั้น กระทบกับสิ่งมีชีวิตบนโลกทั้งหมด มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ดีเอ็นเอ ที่ส่งในด้านของการวัวัฒนาการทางด้านพันธุกรรม ซึ่งถึงเป็นด้านดี ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตปรับตัวกับสภาพความเปลี่ยนแปลง แต่ในด้านเสีย มนุษย์ถูกรังสีคอสมิกที่มีขนาดเล็กมากทะลุผ่านร่างกายทุกๆวินาที และทำให้มีโอกาสพุ่งผ่านตรงจุดดีเอ็นเอและทำลายนิวเคลียส ทำให้ก่อเกิดเซลล์มะเร็ง


    C5-WarRoom Falkman
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    Northeast Eruption
    A large prominence stretching hundreds of thousands of kilometers located in the northeast quadrant erupted on Thursday. A Coronal Mass Ejection (CME) will most likely be flung into space. Images and movie below by SDO. More to follow.

    การระเบิดด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ที่ใหญ่ ความยาวหลายพันกิโลเมตร เมื่อวันพฤหัสที่ผ่านมา 31 มกราคม และได้ก่อให้เกิด CME ออกไปในอวกาศ พาสม่าวิ่งมา ทางตะวันออกเฉียงเหนือของโลก และห่างจากโลก

    CME UPDATE: As expected, the northeast quadrant prominence eruption on Thursday flung a Coronal Mass Ejection into space. The plasma cloud was directed to the northeast and away from Earth. This image by Lasco C3.

    http://www.solarham.net/

    [​IMG]

    [​IMG]

    # CME | t0 | dt0| pa | da | v | dv | minv| maxv| halo?
    0032|2013/01/31 06:48| 03 | 158| 150| 0573| 0111| 0314| 0771| II

    เมื่อวันพฤหัสที่ 31 มกรคม เวลาประมาณ 6.48 UT (ประมาณบ่ายสองเวลาไทย) มีการระเบิดแบบรอบด้าน ด้วยความเร็ว ด้วยความเร็วเฉลี่ย 573 กิโลเมตร/วินาที

    อีกลูกเวลา 18.36 UT (เที่ยงคืนครึ่งคืนวันพฤหัสที่ 31 เช้าศุกร์ 1 กพ) ด้วยความเร็วสูง 1,736 กิโลเมตร/วินาที


    [​IMG]

    # CME | t0 | dt0| pa | da | v | dv | minv| maxv| halo?
    0040|2013/01/31 18:36| 01 | 180| 154| 1736| 0119| 1453| 1893| II
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • CME.jpeg
      CME.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      49.2 KB
      เปิดดู:
      650
    • CME.jpg
      CME.jpg
      ขนาดไฟล์:
      48.7 KB
      เปิดดู:
      650
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กุมภาพันธ์ 2013

แชร์หน้านี้

Loading...