เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. siamblogza

    siamblogza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    398
    ค่าพลัง:
    +2,590
  2. siamblogza

    siamblogza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    398
    ค่าพลัง:
    +2,590
    พายุโซนร้อนโซนามู ทวีความเร็วลมขึ้นเป็น 40 น็อต ทิศทางเปลี่ยนไปเล็กน้อย โดยทาง TSR คาดการล่าสุดว่าอาจจะเข้านราธิวาสในสภาพดีเปรสชัน (เส้นทางพายุจะเปลี่ยนทุก 3-6 ชั่วโมง โปรดติดตามข้อมูลบ่อยๆ อย่าปักใจเชื่อว่าจะมีเส้นทางตามเดิมตลอดไป)
     
  3. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
  4. undersea12000

    undersea12000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +1,494
    --------

    ขออนุญาตคุณ Falkman นะครับ
    เห็นว่าคำถามนี้ คงจะได้พบกันอีกมากครั้ง เพราะเกี่ยวกับหน่วยพื้นฐานทางดาราศาสตร์ และกระทู้นี้เสนอเรื่องทางดาราศาสตร์มาก
    จึงหวังว่าจะขยายความเพื่อเป็นที่อ้างอิงในอนาคต

    1 AU คือ 1 Astronomical unit หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์
    คือระยะทางเฉลี่ยระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์
    ก. 92.956×10+6 mi หรือ 93 ล้านไมล์ที่เราเรียนกันมาตั้งแต่เด็ก
    ข. 149.60×10+6 km หรือ 149.6 ล้านกิโลเมตร

    อ้างอิง Wikipedia

    ดังนั้น
    6.0E-4 AU = .0006 AU = .08976 ล้านกิโลเมตร = 89760 กิโลเมตร
    ดังที่คุณ engineer03 เฉลยไว้นั่นเอง

    --------------
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เข้าใจ 1 AU จ้า

    แต่ไม่เข้าใจว่า 6.0E-4 AU
    -4 = 10 กำลัง -4 ใช่ไหม

    และที่ไม่เข้าใจ คำถามคือ ทำไมเค้าบอกว่า จุดที่ใกล้ที่สุดคือ 2 หมื่นไมล์
    แต่ทำไม คำนวนมาแล้วมันได้ 8 หมื่นกว่า

    คำถามยาวๆ คือแบบนี้..
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เกิน 10 แล้วนะ
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    ลองฟังให้จบ แล้วจะเก็ตอะเไรบางอย่าง..

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/Z_SGicvtsVU?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    Published on 11 Nov 2012

    Planetary scientist Daniel Durda talked about Near Earth asteroids, and the possibility of a mid-sized one, 2012 DA14, hitting us in 2013. The 150 ft. wide object (much smaller than Apophis) won't collide with Earth when it makes a close approach on Feb. 15th, 2013, he said, but its subsequent pass in 2020 could be of concern. We don't have enough information yet about what its orbit will look like at that time, he noted. A lot of recent asteroid & comet discoveries are being made by amateur astronomers, who ironically sometimes have better equipment and more time than the professionals, he commented.

    Another asteroid of concern is 2011 AG5. About the size of a football stadium, it could cause a crater in the ground if it impacted Earth. It's going to make a near approach in February of 2023, and if it passes through in a certain way (a 1 in 625 chance), it could hit us on a return passage in 2040, he warned. Durda also talked about some of the unusual properties of Jupiter's moons, Europa and Io, as well as how we're living in the "glory age" of exoplanet discoveries, learning that our solar system is not unique, and we're not alone out there in the galaxy.

    Biography:

    Daniel Durda is a planetary scientist with the Southwest Research Institute. He has authored 68 scientific publications on the subject of the collisional and dynamical evolution of main-belt and near-Earth asteroids, Kuiper belt comets, and interplanetary dust; airborne observations of planetary occultations; the formation and observational detection of asteroidal satellites; the size distribution of dust from the catastrophic disruption of meteoritic samples; and the global distribution of ejecta from the Chicxulub impact crater.

    Wikipedia
    Asteroids (from Greek ἀστεροειδής - asteroeidēs, "star-like", from ἀστήρ "star" and εἶδος "like, in form") are a class of small Solar System bodies in orbit around the Sun. They have also been called planetoids, especially the larger ones. These terms have historically been applied to any astronomical object orbiting the Sun that did not show the disk of a planet and was not observed to have the characteristics of an active comet, but as small objects in the outer Solar System were discovered, their volatile-based surfaces were found to more closely resemble comets, and so were often distinguished from traditional asteroids. Thus the term asteroid has come increasingly to refer specifically to the small bodies of the inner Solar System out to the orbit of Jupiter, which are usually rocky or metallic. They are grouped with the outer bodies—centaurs, Neptune trojans, and trans-Neptunian objects—as minor planets, which is the term preferred in astronomical circles. This article will restrict the use of the term 'asteroid' to the minor planets of the inner Solar System.

    There are millions of asteroids, many thought to be the shattered remnants of planetesimals, bodies within the young Sun's solar nebula that never grew large enough to become planets. A large majority of known asteroids orbit in the asteroid belt between the orbits of Mars and Jupiter or co-orbital with Jupiter (the Jupiter Trojans). However, other orbital families exist with significant populations, including the near-Earth asteroids. Individual asteroids are classified by their characteristic spectra, with the majority falling into three main groups: C-type, S-type, and M-type. These were named after and are generally identified with carbon-rich, stony, and metallic compositions, respectively.

    A near-Earth object (NEO) is a Solar System object whose orbit brings it into close proximity with the Earth. All NEOs have a closest approach to the Sun (perihelion) of less than 1.3 AU. They include a few thousand near-Earth asteroids (NEAs), near-Earth comets, a number of solar-orbiting spacecraft, and meteoroids large enough to be tracked in space before striking the Earth. It is now widely accepted that collisions in the past have had a significant role in shaping the geological and biological history of the planet. NEOs have become of increased interest since the 1980s because of increased awareness of the potential danger some of the asteroids or comets pose to the Earth, and active mitigations are being researched.
     
  8. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    มาดูจุดดับกันชัดๆอีกครั้ง จาก NOAA.เมื่อเวลา 10.00 น. THA ที่ผ่านมา

    [​IMG]

    ที่มาจาก SolarHam.com
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2013
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ssn_plot.gif
      ssn_plot.gif
      ขนาดไฟล์:
      337.5 KB
      เปิดดู:
      381
  11. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    16.30 น.THA เกิดการปะทุขนาด M1.7 บนดวงอาทิตย์ จากจุดดับหมายเลข 1650 ทิศทางไม่ตรงกับโลก

    [​IMG]


    และอัพเดทกันอีกครั้งกับจุดดับที่เพิ่มขึ้น

    [​IMG]

    ที่มาจาก SolarHam.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มกราคม 2013
  12. Power of earth

    Power of earth เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +1,105
    อยากรู้จังครับ ว่าถ้าจุดดับทั้งหมดระเบิดพร้อมๆ กัน ถึงระดับ Class X จะเป็นอย่างไร มีผลกับโลกในรูปแบบใดบ้างครับ ( สงสัยครับ )
     
  13. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    ดวงอาทิตย์ คืออะไร! !!!!

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  14. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    ข้อมูลเพิ่มเติม ของจุดดับ 1650 ที่ประทุขนาด M.1.7 เวลา 16.30 น.วานนี้

    ภาพการปะทุ M1.7 ครั้งแรกของปีเมื่อเวลา 16:34 วานนี้ ซึ่งทางฝั่งยุโรปสามารถตรวจจับคลื่นในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ของโลกได้

    [​IMG]

    SID
    Taken by Dave Gradwell on January 5, 2013 @ Birr. Ireland


    [​IMG]

    ที่มาจาก เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
     
  15. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    จุดดับใหม่ของดวงอาทิตย์โดย SDO เมื่อ 5 มกราคม 2013 คือหมายเลข 1652 และ 1653

    [​IMG]

    ที่มาจาก SolarHam.com
     
  16. undersea12000

    undersea12000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +1,494
    ตอบคุณ Falkman ครับ

    1/4/2013, 01:50 AM #3158
    Falkman

    อ้างอิง:
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Soul Collector
    6.0E-4 AU นี่คือตัวเลขระยะทางที่ใกล้โลกที่สุดของเจ้า2012ดีเอ14ครับน้าฟ็อกซ์แมน ซึ่งมันจะอยู่บนหัวเรานี่เองในวันที่16ก.พ.2013เวลายูทีซีสากล ขนาดเล็กไม่ใหญ่แต่ก็ประมาทไม่ได้เหมือนกันครับ
    --
    6.0E-4 AU หมายความว่าอย่างไรพอทราบไหม?

    ------

    1/4/2013, 10:48 PM #3170
    Falkman

    อ้างอิง:
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ undersea12000
    --------
    ขออนุญาตคุณ Falkman นะครับ
    เห็นว่าคำถามนี้ คงจะได้พบกันอีกมากครั้ง เพราะเกี่ยวกับหน่วยพื้นฐานทางดาราศาสตร์ และกระทู้นี้เสนอเรื่องทางดาราศาสตร์มาก
    จึงหวังว่าจะขยายความเพื่อเป็นที่อ้างอิงในอนาคต

    1 AU คือ 1 Astronomical unit หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์
    คือระยะทางเฉลี่ยระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์
    ก. 92.956×10+6 mi หรือ 93 ล้านไมล์ที่เราเรียนกันมาตั้งแต่เด็ก
    ข. 149.60×10+6 km หรือ 149.6 ล้านกิโลเมตร

    อ้างอิง Wikipedia

    ดังนั้น
    6.0E-4 AU = .0006 AU = .08976 ล้านกิโลเมตร = 89760 กิโลเมตร
    ดังที่คุณ engineer03 เฉลยไว้นั่นเอง

    --------------
    เข้าใจ 1 AU จ้า

    แต่ไม่เข้าใจว่า 6.0E-4 AU
    -4 = 10 กำลัง -4 ใช่ไหม

    และที่ไม่เข้าใจ คำถามคือ ทำไมเค้าบอกว่า จุดที่ใกล้ที่สุดคือ 2 หมื่นไมล์
    แต่ทำไม คำนวนมาแล้วมันได้ 8 หมื่นกว่า

    คำถามยาวๆ คือแบบนี้..

    =============

    ความเห็นของผม:

    1.
    คุณ Falkman:
    แต่ไม่เข้าใจว่า 6.0E-4 AU
    -4 = 10 กำลัง -4 ใช่ไหม

    -------
    ใช่ครับ แต่คงต้องเขียนว่า
    E-4 = 10 กำลัง -4 ครับ
    ซึ่งในกรณีนี้ ก็คือ 6.0 หารด้วย 10 กำลัง 4 = 6.0E-4 = .0006. เมื่อหารด้วย 10 กำลัง 4 เขาตกลงให้เขียนว่า 10 กำลัง -4 ครับ.
    โดยนัยกลับกัน 6.0E+4 [หรือ 6.0E4] ก็คือ 6.0 คูณด้วย 10 กำลัง 4 = 60000

    เวลาเขียนทางวิทยาศาสตร์ เขาให้ใช้เขียนดังนี้ เพราะเมื่อเขียนตัวเลขใหญ่ๆ จะเขียนง่าย เช่น
    1.23 x 10^7 (1.23 คูณ 10 กำลัง +7) ให้เขียนว่า 1.23E7 หรือ 1.23e7.
    เรียกว่า เขียนใน E notationครับ

    2.
    อ้างอิง:
    และที่ไม่เข้าใจ คำถามคือ ทำไมเค้าบอกว่า จุดที่ใกล้ที่สุดคือ 2 หมื่นไมล์
    แต่ทำไม คำนวนมาแล้วมันได้ 8 หมื่นกว่า
    --
    อันนี้ผมลองพลิกกลับไปดูโพสท์ว่า เรื่องราวมันเป็นมาอย่างไรกัน
    แต่ผมพลิกกลับไปสี่หน้าแบบเร็วๆ ผ่านๆ ก็ไม่เจอครับ
    กระทู้ไปเร็วมาก ไม่ทราบที่มา มาจากไหน -เจ้า 2 หมื่นไมล์, 8 หมื่นกว่า ที่ว่า

    บังเอิญผมทะลึ่งไปตอบเรื่อง 6.0E-4 AU เข้า และคุณ Falkman ถามกลับมาที่โพสท์ของผม
    จึงรู้สึกว่า ควรตอบประเด็นต่อไปเรื่องกี่หมื่นไมล์นี้ด้วย ผมจึงไปเข้าอินเตอร์เน็ตและได้ข้อมูลนี้มาดังนี้ครับ
    (จะสรุปแต่สั้นก่อน หากสนใจจึงตามไปอ่านต่อข้างล่างนะครับ ข้อมูลยาวหน่อยนะครับ)

    คำตอบสั้นๆก่อนก็คือเขาได้ 6.0E-4 AU จากโปรแกรม คำนวณให้ครับ.
    จึงเรียกว่า เป็นจุดข้อมูลอีกจุดหนึ่ง ใน youtube ที่อัพโหลดในวันที่ Apr 9, 2012
    (ในขณะที่ตัวเลขเมื่อตอนประกาศให้โลกทราบเป็นหนแรกเมื่อ กุมภา 2012 เป็นสองหมื่นกว่า กม.)
    แต่เมื่อเราไปดูใน youtube และอินเตอร์เน็ต จะพบว่าจริงๆแล้วมีตัวเลขต่างๆกันไปครับ.

    ต่อไปนี้เป็นข้อมูลรายละเอียด ท่านที่ไม่สนใจก็ไม่ต้องตามไปอ่านนะครับ.

    ในอินเตอร์เน็ตนั้นได้เขียนถึงระยะทางที่อุกกาบาต 2012 DA14 ห่างจากโลก 26 941.9 กม. หรือเกือบ 27000 กม. อยู่หลายแห่ง
    [0.000180095329163108 Astronomical Units = 26 941.9011 kilometers]
    [หากเอาตาม wikipedia ก็รายงานว่า
    On February 15, 2013, the asteroid will pass no closer than 0.000181 AU (27,100 km; 16,800 mi) from the center-point of Earth,[2] which is no closer to Earth's surface than 3.2 Earth radii.[5] The nominal pass will be 0.00023 AU (34,000 km; 21,000 mi) from the center-point of Earth.[2]]

    แต่เจ้า 8 หมื่นกว่า ที่ว่านั้นหายากหน่อย ค้นสักพักกว่าจะไปลากตัวเจ้าคนโพสท์มาให้คุณ Falkman ได้
    นายคนนี้ใช้ชื่อว่า "gvloanguy2" (เมื่อเจอเขาผมก็เอาข้อมูลมา โดยขี้เกียจหาว่าเป็นคนแรกหรือเปล่า ฯลฯ)

    นายคนนี้แสดงใน youtube ว่าไปที่ JPL (Jet Propulsion Lab website) แล้วใช้ "JPL Small Body database Browser"
    เมื่อป้อนชื่ออุกกาบาต (วัตถุในอากาศขนาดเล็ก) ชื่อ 2012 DA14 แล้วให้มันแสดงทางโคจรเปรียบเทียบระหว่าง
    สองวัตถุ (กรณีนี้ก็ 2012 DA14 และโลก) เมื่อใส่วันที่ไป โปรแกรมก็จะแสดงตำแหน่งของทั้งสอง เมื่อเปลี่ยนเวลาไป
    เรื่อยๆ มันก็จะวาดเป็นวงโคจรของทั้งสองให้ พร้อมทั้งมีตัวเลขแสดงระยะห่างไปเรื่อยๆ ฯลฯ
    ดังนี้ ตามที่แสดงใน youtube ลิ้งค์นี้
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=6Zr6whxDsfc]Asteroid 2012 DA14 - IMPACT date Feb 16, 2013 - YouTube[/ame] (อัพโหลด Apr 9, 2012)
    เมื่อไปถึงวันที่ Feb 16 2013,
    2012 DA14 มีระยะห่างจากโลก 6.0E-4 AU.
    คุณ Falkman ลองตามเข้าไปดูนิดนะครับ

    โอเคนะครับ

    -----------
     
  17. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    ขอบคุณท่าน undersea12000 ที่พยายามหาคำตอบมาจนได้ นับถือครับ เพราะบางครั้งข้อมูลไปเกี่ยวข้องกับสูตรและตัวเลข ก็ทำให้มึนไปเหมือนกันเนี่องจากไม่ได้ศึกษาทางด้านนี้มา ผมว่าดีครับช่วยๆกันเพราะผมคิดว่าคนที่ไม่ทราบเหมือนผมหรือแปลไม่ได้นี่คงมีอีกหลายท่านน่ะครับ
     
  18. undersea12000

    undersea12000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +1,494
    ---

    ด้วยความยินดีครับ

    ท่านทั้งหลาย อาทิ คุณ engineer03 คุณ Falkman คุณ หนุมาน ผู้นำสาร คุณเกษม และอีกหลายๆท่านที่ไม่ได้เอ่ยชื่อ
    ที่ตั้งกระทู้ก็ดี ติดตามหาข้อมูลดีๆอย่างจริงๆจังๆ ยินดีสละเวลา ทำติดต่อกันเป็นเวลานาน เป็นประโยชน์ต่อปวงประชาทั้งหลายเป็นอย่างยิ่ง

    ผมเชื่อว่า ท่านทั้งหลายทำบุญอย่างมหาศาลทีเดียวครับ
    ขอคำนับ คารวะต่อท่่านทั้งหลายครับ
     
  19. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    ;ปรบมือ;ปรบมือ;ปรบมือ;ปรบมือ;ปรบมือ
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    ขอออกความเห็นด้วยคนครับ

    ที่ถูกต้อง ระยะใกล้สุดตามที่นาซ่าคำนวณไว้ 0.0002 AU ( 2.0E-4 AU) ในวันที่ 15 Feb 2013 เวลาประมาณ 22:00-23:00 UTC

    ส่วน 0.0006 AU ( 6.0E-4 AU ) จะเป็นช่วงที่ 2012 DA14 กำลังเดินทางห่างออกไปจากโลก ณ เวลา 2:00-3:00 UTC ของวันที่ 16 Feb 2013 ครับ

    JPL Small-Body Database Browser

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...