ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    หากสภาพเช่นนี้เดินหน้าไม่ยอมหยุด...

    ปลาย Sunda Plate ลงไปถึงระดับ 80 ฟุตใต้น้ำทะเลอีกไม่นาน

    [​IMG]

    เนื่องจากปลาย Sunda Plate ถูกขนาบซ้ายขวา ไปไหนไม่ได้เลย นอกจาก เอียงและทรุดตัวในช่วง 7/10 scenarios ถึง 80 ฟุตใต้ระดับน้ำทะเลในเร็วๆนี้
     
  2. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    รอฟังรายงานที่ความลึก 100 กม.

    ที่ลึก 100 กม. คงมีข่าวใหม่ๆมาให้ติดตามดูอาการต่อไป....ที่น่าตื่นเต้นเพิ่มขึ้น

    เพื่อนที่ภูเก็ตสั่งให้สำรองน้ำดื่ม ใส่ภาชนะที่จัดหาไว้ให้เรียบร้อย...ด่วน หากมีน้ำ มีอาหาร ไม่มีไฟฟ้า...ยังอยู่กันได้...ที่ทุ่งหัวช้าง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 สิงหาคม 2012
  3. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    ตัวอย่างที่ เอลซานวาร์ดอร์

    อาฟเตอร์ช็อคมาเป็นขบวน ทำให้เห็นว่า ในช่วง severe wobble เปลือกโลกทั่วโลกพากันเคลื่อนตัวตลอด 9 วันต่อเนื่อง ไม่พักหยุดนาน...ได้เห็นตัวอย่างที่ผ่านมาหลายๆที่ ทำให้เข้าใจสภาวะ ในช่วง severe wobble ได้ชัดเจนขึ้น
     
  4. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    สั้นๆ..ง่ายๆ เมื่อ PX retrograde เข้ามาใกล้โลก

    ZetaTalk Chat Q&A for August 28, 2010

    During the 6 Days of Sunrise West forum discussion, 6 Days of Sunrise West: How Well Can YOU Explain It? - Earth Changes and the Pole Shift we explored the dynamics of Earth and Planet X as Planet X moves between Earth and the Sun during the Severe Wobble, Static Lean to the Left, 3 Days of Darkness and 6 Days of Sunrise West. In developing 2-D representations for these events, I assumed the polar axes of Earth and Planet X are horizontally aligned (aligned in the horizontal plane) as Planet X moves from the right of the Earth to the left of Earth (see below images). That is to say, in order to account for why Earth's N Pole swings to the right as Planet X moves to the left between Earth and the Sun after 3 Days of Darkness, I assumed that Planet X's N Pole swings to the right as it passes, remaining aligned in the horizontal plane with Earth's N Pole during this process. Subsequently, I've suspected this was an incorrect assumption on my part, and that Planet X, being the dominant magnet, will plow past Earth without Earth having any effect on the orientation of Planet X's N Pole. A separate thought was that if the 6 Days of Darkness is the beginning of the side-by-side alignment between Earth and Planet X, this indicates that their polar axes must be moving into vertical alignment. So my questions to the Zetas are:
    1. What is the orientation of Planet X's N Pole as it moves between Earth and the Sun?
    2. Does Earth have any influence on the orientation of Planet X's N Pole as it passes?
    3. When Earth and Planet X begin their side-by-side alignment during 6 Days of Sunrise West, how soon before the polar axes of Earth and Planet X are vertically aligned (aligned in the vertical plane)?
    [and from another] You can also check Andrew's blog: Planet X Path - Earth Changes and the Pole Shift. These things are very well described there. It may help.





    During the time when the Earth has stopped her Severe Wobble to lay in a static position in a Lean to the Left, there is a dynamic going on between the Earth and Planet X. and more...
     
  5. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    ท้องฟ้าแดงฉานยามตนะวันรอนที่ทุ่งหัวช้าง

    1845 ที่ ทุ่งหัวช้าง ท้องฟ้าทางด้านทิศตะวันตก แดงฉาน ขณะที่พระอาทิตย์กำลังจะลับฟ้า ใครได้สังเกตบ้าง
     
  6. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    ควรจะจรรีออกจากที่ราบลุ่มภาคกลางเมื่อไร?

    9 day Severe Wobble
    4.5 days static Lean to the Left

    2.5 days progression toward 3 Days of Darkness.
    3 Days of Darkness
    6 days of Sunrise West
    18 day of Slowing Rotation
    6 (5.9) days of Rotation Stoppage


    นั่งอ่านไปก็พิจารณาไป ขณะนี้ประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วง Earth wobble กำลังขยับเข้าไปใกล้ severe wobble เข้าไปทุกที

    อย่างไรก็ตามก่อนจะถึง 9 วันอันตราย น้ำทะเลกระฉอก 200-300 ฟุตวันละ 2 เวลานั้น จะมีรอยต่อของ 7/10 scenarios กับ ช่วง severe wobble ส่วนประเทศไทยมีของแถมเพิ่มขึ้น เนื่องจากตั้งอยู่บน Sunda Plate ที่กำลังเคลื่อนตัว ตามแรงกดดันของ แผ่นใหญ่ อินโด-ออสเตรเลีย และแผ่น แปซิฟิก ที่กำลังติดตามอาการคืบหน้าอย่างใกล้ชิด ก็มีข่าวไม่ค่อยดีกับ กูเกิล ไม่รู้จะถูกปิดหรือไม่ หากยังเปิดอยู่ต่อไปหลายๆคนก็จะได้ทราบความเคลื่อนไหวของเปลือกโลก และ ภาพต่างๆของ PX ที่เคลื่อนตัวออกจากดวงอาทิตย์เคลื่อนมาใกล้โลกมากขึ้นทุกที กันได้นานๆ แต่เรื่องบริการทางอินเทอร์เน็ตนี้ ชาว Zetas รายงานเอาไว้ว่าจะไม่ถูกปิด...ถ้าเป็นอย่างนั้นหลายๆคนจะได้ใช้สื่อสารกันได้นานอีกหน่อย...จะได้ทราบสาเหตุต่างๆที่ชาว Zetas ได้ให้การศึกษาเอาไว้ จะได้ตระเตรียมตนและครอบครัวได้สะดวกขึ้น ...เป็นเรื่องค่อนข้างยากในการ หยุดตนเองออกจากงานอาชีพ ที่ทำมาตลอดชีวิต แล้วต่อไปจะเอาอะไรกินกัน...ต้องพึ่งตนเองถอยหลังความเป็นอยู่ในยุคใหม่ไปอีก 100 ปี


    ...เตรียมข้าวปลาอาหาร สำหรับการปรับตัว อย่างน้อยซัก 6 เดือนจะดีไม๊?

    ข้อมูลที่น่าพิจารณา
    North up, South down. Milkhill is stating that these dramatic changes will take place in the main during a single trimester. For those looking for clues as to timing, for when to go to safe locations, a strong Lean to the Left is the clue. At this point, clinging to your old life, paying your bills and showing up for work, is no longer relevant!
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 สิงหาคม 2012
  7. natatik

    natatik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2012
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +3,607
    ช่วยขยายความหน่อยได้มัยค่ะ หรือภาคเหนือจะเจอศึกหนักในเร็ว ๆ นี้เหรอค่ะ
     
  8. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    อีกมุมหนึ่งของซุนดาเพลสที่ผู้รู้ทั้งหลายเขาวิเคราะห์กัน

    ผลการศึกษาเรื่องการเคลื่อนตัวทางดิ่งของแผ่นดินและการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยด้วยเทคโนโลยีอวกาศจากโครงการวิจัยร่วมไทย -ยุโรป GEO2TECDI

    .ดร.เฉลิมชนม์ สถิระพจน์,รศ.ดร.อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์และนักวิจัยในโครงการ GEO2TECDIภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,กรมอุทกศาสตร์, กรมแผนที่ทหาร, สทอภ, โรงเรียนนายเรือ, TUDelft (Netherlands), ENS (France) TUDarmstadt (Germany)

    โครงการวิจัยร่วมไทย-ยุโรปGeodetic Earth Observation Technologies for Thailand:Environmental Change Detection and Investigation (GEO2TECDI) ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรป โดยมีคณะนักวิจัยหลักจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและFaculty of Aerospace Engineering,Delft University of Technology ประเทศเนเธอร์แลนด์ Geodetic Earth Observation Technologies for Thailand: Environmental Change Detection and Investigation (GEO2TECDI) ได้ใช้เทคโนโลยีอวกาศ 3 เทคโนโลยี คือดาวเทียมจีพีเอส (Global Positioning System; GPS) ดาวเทียมวัดระดับน้ำทะเล (Altimetry Satellite; SALT) และดาวเทียมเรดาร์ (Synthetic Aperture Radar Satellite; SAR) เพื่อตรวจวัดและติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกเกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกทางดิ่งอันเป็นผลมาจากเหตุแผ่นดินไหวสุมาตรา-อันดามัน การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในอ่าวไทย และการทรุดตัวของชั้นดิน/ทรายบริเวณกรุงเทพมหานคร ตามลำดับ ผลที่ได้จากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่าอัตราการเคลื่อนตัวทางดิ่งทั้ง3 ส่วนที่กล่าวมาในข้างต้นมีความสอดคล้องกันและส่งผลทางลบต่อประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครและพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับชายฝั่งทะเลแถบอ่าวไทย เทคโนโลยี GPS ชี้ให้เห็นว่าในช่วง 5 ปีหลังเหตุแผ่นดินไหวสุมาตรา-อันดามัน พื้นที่บริเวณประเทศไทยมีการลดระดับของแผ่นเปลือกโลกในอัตรา 10 มมต่อปี ในขณะที่เทคโนโลยีดาวเทียมวัดระดับน้ำทะเลบ่งชี้ว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยอยู่ที่ 5 มมต่อปี ซึ่งสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของโลกประมาณ 2 เท่าและเทคโนโลยีดาวเทียมเรดาร์แสดงค่าการทรุดตัวของผิวดินในบริเวณกรุงเทพมหานครที่พบว่าในหลายบริเวณมีอัตราที่สูงกว่า15 มมต่อปี ถ้าสมมุติฐานที่ว่าอัตราทั้งสามยังเป็นแบบเชิงเส้นนั้นเป็นจริง เมื่อรวมอัตราทั้งสามเข้าด้วยกันก็จะพบว่าระดับของผิวดินและระดับน้ำทะเลเฉลี่ยนั้นขยับเข้าใกล้กันปีละประมาณ 30 มม และหากพิจารณาค่าระดับของพื้นผิวดินในบริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบันซึ่งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเฉลี่ยประมาณ 80-100 เซนติเมตร ก็จะเห็นได้ว่าในระยะเวลาภายใน 25 ปี พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่จะอยู่ระดับเดียวกันกับระดับน้ำทะเล หรือสามารถกล่าวสั้นๆ ได้ว่ากรุงเทพกำลังจมลง ซึ่งปรากฎการณ์ดังกล่าวก็จะส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างมากมายมหาศาล

    แหล่งที่มา : เอกสารสรุปผลการดำเนินการตามโครงการฉบับสำหรับสื่อมวลชน
    http://www.sv.eng.chula.ac.th/attachments/article/67/GEO2TECDI_press_release.pdf

    และนี่ฉบับบรรยายสรุปการดำเนินโครงการ
    http://www.sv.eng.chula.ac.th/attachments/article/93/GEO2TECDI_GPS_1.pdf

    เห็นว่าเรื่องนี้ถูกนำเสนอในการประชุมซิมโปเซียมด้วย ป๋าน่าจะรู้แล้ว

    จริงๆแล้วงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเรื่อง Sunda Plate โดยตรง
    ตัวรายงานการศึกษาฉบับเต็มขออุบไว้ก่อน
    กำลังอ่านอยู่:boo:​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2012
  9. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    เอาเข้าไป คราวนี้เขาจัดให้ซุนด้าเพลสด้วยเหมือนกันเนาะ

    Update time = Mon Aug 27 12:25:43 UTC 2012

    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1><TBODY><TR><TH></TH><TH align=middle>MAG </TH><TH align=middle>UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s

    </TH><TH align=middle>LAT
    deg

    </TH><TH align=middle>LON
    deg

    </TH><TH align=middle>DEPTH
    km

    </TH><TH>Region</TH></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.3 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 12:19:58 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>60.281 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-152.437 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>94.6 </TD><TD vAlign=top>SOUTHERN ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 12:05:23 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>10.346 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>92.937 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>45.4 </TD><TD vAlign=top>ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 10:59:41 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.124 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-88.490 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.6 </TD><TD vAlign=top>OFF THE COAST OF EL SALVADOR</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 09:05:01 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.154 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-88.306 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.1 </TD><TD vAlign=top>NEAR THE COAST OF NICARAGUA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.3 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 09:01:23 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>2.378 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>99.002 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>151.2 </TD><TD vAlign=top>NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 08:58:23 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>33.056 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-115.537 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>8.7 </TD><TD vAlign=top>SOUTHERN CALIFORNIA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 08:16:18 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.360 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-88.673 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.9 </TD><TD vAlign=top>OFFSHORE EL SALVADOR</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.5 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 08:14:48 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.312 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-88.932 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.2 </TD><TD vAlign=top>OFF THE COAST OF EL SALVADOR</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 08:05:54 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.313 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-89.105 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.4 </TD><TD vAlign=top>OFF THE COAST OF EL SALVADOR</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 07:55:33 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.432 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-155.313 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>6.5 </TD><TD vAlign=top>ISLAND OF HAWAII, HAWAII</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    Update time = Mon Aug 27 12:25:39 UTC 2012


    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2012/08/27 12:05:23 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>10.346 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>92.937 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>45.4 </TD><TD vAlign=top>ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION</TD></TR></TBODY></TABLE>
    Skip to earthquake lists
    [​IMG] [​IMG]



    B5 - War Room Falkman
     
  11. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ทบทวนบทวิจัย ไทยทรุดตัว-น้ำทะเลรุกกรุงเทพฯ

    หลังเกิดเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2547 ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกระดับรุนแรง ส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวระดับ 8-9 ริกเตอร์ บริเวณเกาะสุมาตรา ก่อให้เกิดคลื่นสึนามิขนาดใหญ่ถาโถมเข้าเกาะสุมาตราและอันดามัน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของไทย เหตุการณ์ดังกล่าวนับเป็นการเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงอันดับ 3 เท่าที่โลกจะมีการบันทึกกันมา และจุดเริ่มต้นที่เป็นที่มาของการเกิดโครงการวิจัยร่วมกันระหว่างประเทศไทย และประเทศแถบยุโรป เพื่อตรวจสอบหาร่องรอยผลกระทบหลังเหตุการณ์

    ซึ่งโครงการได้สิ้นสุดลงเมื่อช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 2553และมีผลสรุปว่า
    ผลหลังจากการเกิดสึนามิ ประเทศไทยมีการทรุดตัว การทรุดตัวดังกล่าวเป็นการทรุดตัวทั้งประเทศในระดับปีละประมาณ 10 มม./ปี ส่งผลให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดข้อวิตกถึงปัญหาน้ำท่วม และการจมตัวลงของกรุงเทพฯ และปริมณฑล และผลกระทบหลังแผ่นดินไหวทำให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการขยับตัว หรือผลกระทบที่เรียกว่า Post-Seismic มีการดึงประเทศไทย (ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือดึงไปทางฝั่งตะวันออก ส่วนทางด้านใต้ดึงไปทางฝั่งตะวันตก) ส่งผลให้ประเทศไทยยาวขึ้น 60 ซม. โดยเป็นการวัดระยะเปรียบเทียบช่วงก่อนและหลังการเกิดสึนามิ

    ในข้อสรุปของนักวิชาการยังมีความเห็นว่า หากไทยไม่เตรียมการทำอะไรเพื่อเป็นการป้องกันและรับมือกับปัญหา ก็คาดว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑลจะจมน้ำในอีก 20-25 ปีข้างหน้านี้
     
  12. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    โครงการวิจัยร่วมไทย-ยุโรป GEO2TECDI (GEodetic Earth Observation Technologies for Thailand : Enviromenttal change Detection and Investigation) เป็นโครงการวิจัยร่วมกันระหว่างประเทศไทยและยุโรป ภายใต้โปรแกรม Thailand-EC Cooperation Facility (TEC) ที่สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป คณะผู้วิจัยฝั่งไทยประกอบด้วย อาจารย์และผู้เชี่ยวชาญจากภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมแผนที่ทหาร กรมอุทกศาสตร์ โรงเรียนนายเรือ และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.)

    ด้านนักวิชาการทางฝั่งยุโรปประกอบด้วย อาจารย์และนักวิชาการจาก Faculty of Aerospace Engineering, Delft University of Technology ประเทศเนเธอร์แลนด์,ENS (France) Darmatdt University of Technology (Germany)

    ส่วนวิธีการวิจัยใช้ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมจีพีเอส ดาวเทียมวัดระดับน้ำทะเล (Altimetry Sateellite) ในการใช้เทคโนโลยีอวกาศ Space-geodetic GNSSInSAR และ Satellite Altimetry) เพื่อตรวจวัดและติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเล การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และการทรุดตัวของแผ่นดิน นับเป็นการใช้เครื่องมือประเภทนี้เป็นครั้งแรกในการวัดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์โลก

    งานวิจัยดังกล่าวได้เปิดเผยถึงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าค่าเฉลี่ยของโลก และตรวจพบแผ่นเปลือกโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ลดระดับลงอย่างรวดเร็ว หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่บริเวณหมู่เกาะสุมาตรา-อันดามัน ที่เกิดขึ้นเมื่อเดือน ธ.ค.2547

    งานวิจัยไม่เพียงพบการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยในอ่าวไทยที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลกประมาณ 2 เท่า แต่ยังพบการลดระดับของเปลือกโลกในบริเวณประเทศไทยที่น่าเป็นห่วง ซึ่งอาจส่งผลให้การคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตเกี่ยวกับกรุงเทพมหานครกำลังค่อยๆ จมลงเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง

    มีข้ออรรถาธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลว่ามีนัยสำคัญอย่างไรต่อสภาวะแวดล้อม โดยงานวิจัยชิ้นนี้ได้ชี้ว่าการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลเป็นตัวชี้วัดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลของโลกที่ประกาศโดย IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) อยู่ที่ประมาณ 2 มม./ปี อย่างไรก็ตาม ตัวเลขการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยในแต่ละบริเวณของโลกมีค่าไม่เท่ากัน ในประเทศไทยเองเป็นที่ถกเถียงกันเป็นเวลานานพอสมควรว่าระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลง และงานวิจัยที่ผ่านมาหลายชิ้นก็ให้ผลลัพธ์ที่ขัดแย้งกัน

    ผลงานการวิจัยล่าสุดโครงการ GEO2TECDI ซึ่งประมวลผลข้อมูลระดับน้ำทะเลเฉลี่ยรายปีจากสถานีตรวจวัดได้จากสถานีวัดระดับน้ำทะเลของกรมอุทกศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2483 และตรวจแก้ค่าการยกตัวของเปลือกโลกที่ตรวจวัดได้จากสถานีจีพีเอสของกรมแผนที่ทหาร ให้ข้อสรุปอย่างชัดเจนว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ยในอ่าวไทยกำลังเพิ่มระดับขึ้น โดยบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก ระดับน้ำทะเลเฉลี่ยกำลังเพิ่มขึ้นด้วยอัตราประมาณ 3 มม./ปี (บริเวณเกาะหลัก ประจวบคีรีขันธ์ 3.1 มม./ปี เกาะมัตโพน ชุมพร 2.8 มม./ปี) ในขณะที่ทางภาคเหนือของอ่าวไทยบริเวณใกล้กับกรุงเทพมหานคร อัตราการเพิ่มอยู่ที่ประมาณ 4 มม./ปี (สัตหีบ 4.3 มม./ปี, เกาะสีชัง 3.8 มม./ปี)

    นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมวัดระดบน้ำทะเลในช่วงปี 2536-2551 ในบริเวณห่างจากชายฝั่งออกไปแสดงให้เห็นว่าระดับน้ำทั่วทั้งอ่าวไทยกำลังเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยไม่พบบริเวณใดที่มีค่าลดลง รูปแบบการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลที่ได้จากดาวเทียมสอดคล้องกับค่าที่วิเคราะห์ได้จากสถานีวัดระดับน้ำ

    นอกจากการวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเล โครงการ GEO2TECDI ยังมีงานวิจัยเพื่อตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ข้อมูลจากการรังวัดด้วยสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส ด้วยเทคนิคที่ให้ความเที่ยงตรงสูงในบริเวณเกาะภูเก็ต ชุมพร และชลบุรี ตั้งแต่ปี 2537 แสดงให้เห็นว่าก่อนการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่สุมาตรา-อันดามัน ในเดือนธันวาคม 2547 แผ่นเปลือกโลกในบริเวณประเทศไทยยกตัวขึ้นอย่างช้าๆ ด้วยอัตราคงที่ แต่ภายหลังแผ่นดินไหว แผ่นเปลือกโลกลดระดับลงอย่างรวดเร็วด้วยความเร็วที่ตรวจวัดได้ในปัจจุบันประมาณ 10 มม./ปี

    ผลพวงจากแผ่นดินไหวซึ่งยังไม่เป็นที่รับรู้กันนี้ ส่งผลให้การประเมินผลกระทบเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลที่มีต่อกรุงเทพมหานครและชายฝั่งต่างๆ ต่ำเกินความเป็นจริง ในส่วนของการเคลื่อนตัวทางราบ งานวิจัยพบว่าตั้งแต่เดือนธันวาคม 2547 เกาะภูเก็ตเคลื่อนตัวไปแล้ว 70 มม. และกรุงเทพฯ 21 ซม.

    งานวิจัยส่วนที่สามของโครงการ GEO2TECDI เป็นการใช้เทคนิคการประมวลผลภาพจากดาวเทียมเรดาร์ที่เรียกว่า Persistent Scattere Interferometic Synthetic Aperture Radar หรือ PSInSAR เพื่อตรวจวัดการทรุดตัวของชั้นดิน ชั้นทรายในบริเวณกรุงเทพฯ การทรุดตัวของกรุงเทพฯ เป็นที่รับทราบกันอย่างกว้างขวางและมีการตรวจสอบภาคพื้นดินด้วยการทำโครงข่ายระดับโดยกรมแผนที่ทหารมาเป็นเวลาหลายสิบปี แต่จำนวนจุดตรวจสอบในโครงจ่ายระดับมีอยู่น้อยมาก เพียงร้อยกว่าจุดในพื้นที่หลายพันตารางกิโลเมตรของกรุงเทพฯ และมริมณฑล ทำให้การหาค่าการทรุดตัวในบริเวณที่สนใจต้องประมาณค่าจากจุดตรวจสอบที่อยู่ห่างกัน และไม่ได้ค่าที่แท้จริง

    การตรวจวัดการทรุดตัวโดยใช้เทคนิค PSInSAR ทำให้ได้จุดตรวจสอบมากกว่า 100,000 จุด จึงมีความหนาแน่นและแสดงรูปแบบการทรุดตัวของชั้นดิน ชั้นทรายที่ชัดเจน ดีกว่าข้อมูลจากโครงข่ายระดับเป็นอย่างมาก การใช้ PSInSAR กับภาพดาวเทียม Radarsat-1 จำนวน 19 ภาพ (ข้อมูลภาพ Radarsat-1 จากสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี) ตั้งแต่ปลายปี 2548-ต้นปี 2553 พบว่าบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก (สมุทรปราการ) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ และทางใต้ของปทุมธานีเป็นบริเวณที่ยังมีการทรุดตัวในอัตราที่สูงกว่า 15 มม./ปี ในขณะที่บริเวณอื่นๆ ของกรุงเทพฯ การทรุดตัวอยู่ที่ระดับ 10 มม./ปี หรือช้ากว่าการลดระดับของเปลือกโลกและการทรุดตัวของชั้นดิน ชั้นทราย ทำให้การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยส่งผลกระทบที่รุนแรงขึ้นต่อกรุงเทพฯ และจังหวัดชายฝั่งใกล้เคียง โดยมีความเสี่ยงสูงขึ้นต่อการเกิดน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง การรุกของน้ำเค็มเข้าไปในแหล่งน้ำจืด ตลอดจนการเสื่อมโทรมลงของสภาพแวดล้อมชายฝั่ง การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และการทรุดตัวของแผ่นดินล้วนเป็นกระบวนการที่มีสาเหตุและคาบการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกัน การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยมนุษย์ และเป็นปัญหาระดับโลกที่ต้องร่วมมือกันทุกประเทศ

    ในขณะที่การทรุดตัวของแผ่นดินเกิดจากการสูบน้ำบาดาลและการขยายตัวของเมืองที่มีการก่อสร้างอาคารสาธารณูปโภค เป็นน้ำหนักการกดทับลงบนชั้นดิน/ทราย และเป็นปัญหาระดับท้องถิ่นของไทย

    สำหรับการลดระดับของเปลือกโลกเป็นการเคลื่อนตัวในช่วงวงจรแผ่นดินไหว (Seismic-cycle) ซึ่งรูปแบบและคาบของวงจรนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ด้วยเหตุนี้ จึงจำเป็นต้องมีการตรวจวัดและติดตามอย่างต่อเนื่องด้วยเทคนิคที่ให้ความเที่ยงตรงสูง เพื่อให้ได้ข้อมูล

    ส่วนงานวิจัยในเชิงลึกในการสร้างแบบจำลองที่สามารถคาดการณ์ค่าในอนาคต สำหรับให้ผู้บริหารและนักวางแผนในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในบริเวณชายฝั่งกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียง

    โครงการวิจัย GEO2TECDI ได้สิ้นสุดลงในเดือน ก.ค.2553 หลังจากดำเนินการมาเป็นเวลา 18 เดือน อย่างไรก็ตาม คณะผู้วิจัยระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมแผนที่ทหาร กรมอุทกศาสตร์ โรงเรียนนายเรือ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ Delft University of Technology, Darmstadt University of Technology และ Ecole Normale Supreieure ได้มีข้อตกลงร่วมกันในการใช้เทคโนโลยี Space-Geodetic เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในบริเวณประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อไปในอนาคต

    ที่มา ; ข่าวคุณภาพของไทยโพสต์
    ทบทวนบทวิจัย ไทยทรุดตัว-น้ำทะเลรุกกรุงเทพฯ | ไทยโพสต์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2012
  13. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    ผลกระทบแผ่นดินไหวในภาคเหนือ

    พื้นที่ภาคเหนือจะพลอยได้รับผลกระทบ จากแผ่น อินโด-ออสเตรเลีย เคลื่อนขึ้นทางเหนือมุดเข้าใต้ฮิมมาลาย่า พม่าจะได้รับแรงกว่าแล้วจึงส่งต่อมารอยแยกแผ่นเปลือกโลกในบริเวณภาคเหนือ อาการเช่นนี้จะค่อยๆทวีความรุนแรงขึ้นไปเรื่อยๆตามลักษณะการเคลื่อนตัวของ อินโด-ออสเตรเลีย ....ติดตามรายงานข่าวเสมอๆก็พอจะทราบได้เองว่าเมื่อไรที่พื้นที่ภาคเหนือจะได้รับแรงกระทบมากจนถึงขั้นออกจะรุนแรง...รู้ไว้เพื่อหลีกเลี่ยง ไม่ต้องวิตกกังวล...เตรียมเต๊นท์เอาไว้นอนนอกบ้านดูบ้างหรือยัง ซ้อมเอาไว้ก่อนก็ดี จะได้เคยชินกับสภาวะที่อาจต้องเผชิญข้างหน้า ...เป็นประสพการณ์ชีวิตอีกแบบ...น่าตื่นเต้นดีมีบ้านอยู่ดีๆ ไหงออกมานอนในเต๊นท์หน้าบ้าน
     
  14. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    แล้วลืมบอกตัวเลขที่จะเอาไว้หารด้วยหรือเปล่า

    หากลืมบอกเอาไว้ก็จงรีบบอกมาเร็วๆหน่อย
     
  15. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    กลับมาตรงนี้ไม่ค่อยจะดีนัก

    ไหวอยู่แถวๆสุมาตราก็ไม่ค่อยจะโสภาสำหรับพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยอยู่แล้ว นี่เริ่มทะยอยขึ้นมาทางเหนือตั้งมากอยู่นา....ชาวด้ามขวานเตรียมเนื้อเตรียมตัวไว้บ้างนะ
     
  16. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    จะไหววอร์มอัฟไปสู่ Last Weeks Countdown กันแล้วหรือ?

    Last Weeks Countdown
     
  17. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    Crop Circle vs a vs a Pole shift

    [​IMG]

    Goldenball, Jun 29, 2007
    We mentioned that Winterbourne showed a battered Earth, being jerked back and forth in an attempt to align with both the magnetic field of Planet X and the magnetic field of the Sun. Here there is a single magnetic field dominant, and a 90° tilt of the Earth as a result. There is another clue to the timing of the pole shift, as the Magnetic Trimesters are shown on this diagram. The pole shift happens when one of the trimesters is ending. This would be the end of December, or April, or August.


    สิงหากำลังจะหมดไป PX ยังไม่ปรากฏต่อสายตาของผู้คนบนโลกมากนัก จึงยังอยู่ห่างโลกพอสมควร ....ถ้าอย่างนั้น ให้เวลาอีกหน่อย ปลายเดือนธันวาคม เป็นไร

    แต่ผู้ที่อยู่พื้นที่เสี่ยง ต้องติดตามข่าวของ Sunda Plate ให้ใกล้ชิด เนื่องจากเหตุที่นี่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า ของ Poleshift
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 สิงหาคม 2012
  18. tippawanJr

    tippawanJr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +165
    เร็วๆนี้ เมื่อไรหนอ มีอะไรเป็นเครื่องบอกเวลาล้อหมุนออกจาก กทม ไหมคะ
     
  19. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618

    [​IMG]

    ตัวอย่างเมืองที่ว่า
     
  20. pmntr

    pmntr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    631
    ค่าพลัง:
    +2,244
    การวิเคราะห์และพิจารณาของทางวิศวกรรมกับทางธรณีวิทยา ค่อนข้างที่จะไม่เหมือนกัน ในหลาย ๆ ครั้ง
    มุมมองในธรณีวิทยาจะมองลักษณะจินตนาการ
    แต่ในมุมมองของทางวิศวะจะมองแบบแบบจำลองตามหลักคณิตศาสตร์

    *จากการคำนวณ อ.ผมบอกมาครับ ว่ามีงานวิจัยต่างประเทศ คาดการณ์ว่าประมาณปี ค.ศ.2100 ระดับทะเลปานกลางจะสูงขึ้น 2 เมตรจากปัจจุบันครับ
    (Quaternary Geology and Coastal erosion management)
     

แชร์หน้านี้

Loading...