ตามรอย "พระมหาชนก"

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 15 กรกฎาคม 2010.

  1. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    [​IMG]

    มีระเบิดเกือบทั่วโลก
    มันเป็นเช่นนี้ละ

    บุคคลและกลุ่มคนที่จะมี%รอดสูง

    เสบียงบุญ (พระมหาชนกเตรียมเสบียงและกำหนดทิศก่อนเรือแตก)

    ๑) ทานมังสะวิรัติ (ข้อนี้ดูแนวโน้มแล้ว สันติอโศก นักเรียนโรงเรียนสัตยาไสของดร.อาจอง จะมี%รอดสูงเชียวละ)
    ๒) มีกิเลสเบาบาง (ถือศีลอุโบสถวันพระ เช่นพระมหาชนก)
    ๓) มีองค์ฌาณรักษา
    ๔) ปฎิบัติบูชาอยู่ใกล้เจดีย์พระธาตุ (ไม่เน้นวัตถุ เช่นพระธาตุนะที่บูชาแต่เฉพาะตน)

    เสบียงกายภาพ

    ๕) มีกลุ่มคนที่มีจิตอาสา พร้อมช่วยเหลือเกื้อกูลกันยามมีภัย
    (คิดเตรียมการแบบเดี่ยวๆ นะรอดยาก)
    ๖) อยู่ในเขตพื้นที่ภัยพิบัติเบาบาง เหนือ-อีสาน สูงจากระดับน้ำทะเล ๑๐๐ เมตร
    ห่างจากเขตรอยแยกของเพลทโลก
    ๗) มีปัจจัย๔ ครบ และมีพลังงานสะอาด ไบโอดีเซล
    ๘) มีสังฆะ ชุมชนพอเพียง
    (ไม่เน้นวัดนะ ต้องไปถึงขั้นเป็นชุมชนจึงจะยั่งยืน และมีเจดีย์พระธาตุเป็นศูนย์รวมใจ)

    เสบียงที่จะนำไปสู่ยุคศิวิลัย

    ๑)สามารถรักษาพระไตรปิฎกและองค์ความรู้พระพุทธศาสนาไว้ได้บริสุทธิ์บริบูรณ์ ครบถ้วน
    ๒)มีองค์ความรู้ทางโลก ศาสตร์ทุกแขนง โดยเฉพาะ "ครู คลัง ช่าง หมอ"
    และการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชจากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของในหลวง
    ๓)มีคนดีมีปัญญา และภาวะผู้นำที่จะนำผู้คนให้ฝ่าวิกฤติไปได้
     
  2. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    เสบียงบุญสำคัญที่สุดนะ
    ถ้าเราฟื้นวิถีทำบุญทุกวันโกนวันพระ ถือศีลอุโบสถฟังธรรม ขึ้นมาได้

    เช่นเรียกร้องให้วันพระเป็นวันหยุดราชการครึ่งวัน เพื่อเฉลิมฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีการแห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่นความพยายามในพศ.๒๔๙๙ ที่มีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ให้กลับมาหยุดราชการในวันพระ

    ถ้าใช้วิธีนี้
    บุญมวลรวมประชาชาติก็จะเพิ่มขึ้น %รอดของคนไทยก็จะเพิ่มขึ้นตาม
    อาจจะรอดถึง 30%

    พวกเรามาช่วยกันใช้โอกาศการปฎิรูปประเทศ
    เรียกร้องประเด็นนี้เพื่อสร้างบุญใหญ่ ฟื้นวิถีพุทธให้กลับมากันเถิด
     
  3. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    ไอเดียป่าชุมชน ใช้โอกาศการปฎิรูปประเทศไทย ให้กลายเป็นทางรอดหนึ่งของพวกเรา

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2010
  4. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    เห็นด้วยครับสำหรับการปฎิบัติธรรมเข้มข้น

    แต่ถ้าเราเริ่มจากอ่อนๆ เช่นศีลอุโบสถวันพระ ตั้งแต่ปลายปี 2553 -2554 เพื่อให้ได้ mass

    และขยับเป็น กลุ่มสนใจเฉพาะ(กลุ่มผู้นำเพื่อให้ได้คุณภาพ)เป็นคอสปฏิบัติธรรมเข้มข้น 3 วัน 7วัน หรือด้วยวิธีที่หลากหลาย ในกลางปี 2554

    เราก็จะได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ
    ส่วนใครมีบุญ มีเหตุปัจจัยให้ทำหน้าที่ สู่ยุคฟื้นฟู เขาก็จะเข้าสู่กระแสบุญกับเราครับ
     
  5. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    ทวนกันอีกครั้ง ก่อนปฎิรูปประเทศไทย

    [​IMG]

    หากเรากำลังอยู่และเติบโตในวังวนของปัญหา
    ก็จะเป็นเช่น"นกไม่เห้นฟ้า ปลาไม่เห็นน้ำ"

    การศึกษา สื่อ เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา สังคม มันเชื่อมกัน ปัญหาจึงยิ่งสลับซับซ้อน หาต้นเหตุไม่เจอ

    มันเหมือนมีเชือกหลายๆขดมาพันกัน

    พอผู้ใหญ่ทั้งหลายแก้ไม่ได้แล้ว ก็มอบหมายให้เด็ก คนตัวเล็กๆอย่างพวกเรา มาทำหน้าที่แก้มัน

    เมื่อหาต้นไม่เจอ ก็จะแก้ที่ปลาย แก้ไปแก้มาก็จะยิ่งพัน

    ทางสุดท้ายคือต้องตัด!!

    ที่มาที่ไปแบบย่อๆ มันเป็นเช่นนี้....

    อนุบาล ประถม = เร่งให้เด็กเรียน พูดอังกฤษได้ยิ่งดี พ่อแม่จะยอมเสียเงินแพงๆ
    จากนั้นก็จะผลักให้ไปเรียนในโรงเรียนมัธยมดีๆในเมือง

    มัธยม = ทั้งเรียนพิเศษ ทั้งเรียนธรรมดา ขยันเรียนแบบโง่ๆเพียงในตำรา
    ด้วยความไม่รู้จึงเอาแค่ตัวเลข4ตัว มาวัดผลการเรียนกัน ผลผลิตที่ได้ส่วนมากจึงเก่งในตำรา แต่เห็นแก่ตัวในโลกจริง

    พ่อแม่ก็จะผลักให้เรียน และเรียนพิเศษอย่างเดียว ไม่ยอมให้ทำอะไรเป็น ไม่ยอมพึ่งพาตนเองได้ ไม่ยอมให้เสียเวลาหัดทำงานเล็กๆน้อยๆ ไม่ยอมให้เรียนรู้โลก หรือประสบการใหม่ๆ นอกจากตำราเรียนเท่านั้น

    เด็กพวกนี้จะถูกครอบด้วยสื่อล้างสมอง สมาธิสั้น และเทคโนโลยี จากแรงผลักให้ฟุ้งเฟื้อของระบบทุน

    เด็กส่วนใหญ่จะเสียตัวตอน ม.2 (สถิติใหม่ล่าสุดเขาว่างั้น)
    ส่วนหนึ่งเกิดจาก ช่วงหนึ่งที่พวกหมอปากดีจำนวนมาก รับเงินบริษัทขายถุงยาง
    ออกมาบอกโฆษณาให้เด็กไทยสวมถุงยางกันให้หมด ปัญหาแก้ไม่ได้แล้ว ต้องหัดให้มันสวมถุงยางเป็นอย่างเดียว

    พวกที่เสีย ก็เสียไป ที่เรียนก็เรียนแบบไม่ลืมหูลืมตา ตะเกียกตะกายเตรียมเข้ามหาลัยกัน
    พวกที่โชคดี พ่อแม่เลี้ยงมาแบบไข่ในหินก็จะเหลือรอดเข้ามหาลัย
    จากนั้นพ่อแม่ก็จะผลักลูกให้ทิ้งถิ่น ออกไปสู่มหาลัยดีๆในเมือง

    มหาลัย= มาถึงตอนนี้ พวกเด็กเรียน เด็กดีของพ่อแม่ทั้งหลาย ก็จะเสียตัวอย่างเป็นทางการ กินเหล้า เสียคน ทิ้งถิ่น โบยบินออกจากกรง ก็ตอนอุดมศึกษานี่ละ

    ขึ้นปีสองก็จะแยกไปอยู่เป็นคู่ๆ และเปลี่ยนคู่ไปเรื่อยๆ

    น่าสงสารนะโดยเฉพาะช่วงออกนอกระบบ บางมหาลัยมันก็ลอกหลักสูตรเขามางั้นละ แก้ชื่อเปลี่ยนปกหลักสูตร ก็มาเปิดการเรียนการสอนกัน

    ปีสามฝึกงาน หัดเป็น ลูกจ้างระบบทุน

    ปี4 ทำโปรเจ็ค ขอแค่ผ่าน จ้างทำเสียเงินแพงๆก็เอา (ฝึกโกงกันตั้งแต่ยังเรียนไม่จบเชียว) พวกนี้ก็จะมากองบนหิ้ง กองพะเนินเชียว ใช้จริงอะไรไม่ได้

    จบแล้ว ตะเกียกตะกายสร้างฝันและกอบโกยกันเถอะ ใครมือยาวสาวได้สาวเอา สังคมช่างมันเถอะ

    ส่วนหนึ่งที่อยากจะแก้ปัญหาสังคม แต่ไม่รู้จะเป็นคนดีอย่างไร หรือจะแก้ปัญหาแบบไหน ในที่สุดก็จะยอมจำนนต่อปัญหา

    พวกนี้ส่วนใหญ่จะคิดว่า แค่ไม่ทำให้ใครเดือดร้อน ก็เป็นคนดีแล้ว นับว่าเป็นมิจฉาทิฐิประการหนึ่ง

    สรุปภาพรวม

    INPUT = สร้างค่านิยมฝังหัว เจ้าคนนายคน ในปมด้อยของคนชนบท
    PROCESS = เบ้าหลอมบิดเบี้ยว ติดตำรา บีบรัด คาดคั้น แข่งขัน ช่วงชิง
    OUTPUT = ได้แรงงานราคาถูกจากชนบทมาป้อนระบบทุน

    คนจึงทิ้งถิ่น พ่อแม่ขายไร่นาให้นายทุน บุตรหลานดูถูกอาชีพทำนาทำสวนของพ่อแม่ หลงมาฟุ้งเฟ้อในเมืองใหญ่ สุดท้ายก็เนรคุณ ทิ้งพ่อแม่ คนแก่ ไว้เลี้ยงหลานอยู่ตจว. แข่งขัน ช่วงชิงผลประโยชน์กันต่อในเมืองหลวง ขาดจิตสำนึกในหน้าที่พลเมือง ที่จะช่วยกันแก้ปัญหา

    INPUT > PROCESS > OUTPUT

    หลักสูตร
    กระบวนการ
    โครงสร้าง
    งบประมาณ
    บุคลากร
    การวัดผลประเมินผล

    เมื่อเทียบสัดส่วน% การใช้งบของกระทรวงศึกษา
    จะพบว่ามีน้อยมากและให้ลำดับความสำคัญเรื่องคุณธรรม ศาสนาไว้ลำดับท้ายสุด
    กระบวนการที่ให้เยาวชนได้เรียนรู้คุณธรรมที่ได้ผลจริงมีน้อยมาก
    แถมยังมีโรคแซกซ้อนเป็น ความดีสร้างภาพ หลอกๆปลอมๆมากมาย

    ประเด็นหนึ่งก็คือ "กิฬา" แปลว่า "เล่น" ดนตรี ก็บันเทิง

    สองเรื่องนี้ น่าจะเป็นเสี้ยวหนึ่งหรือมีความสำคัญรองลงมาจากวิชาการและการ สร้างคนดีเหนือสิ่งใด

    ก็กลายเป็นว่า เป็นเรื่องสำคัญที่ไปไม่ถึงคุณค่าแท้ ของคำว่ากิฬาและดนตรี
    จากนั้นก็ยกย่อง จัดประกวดแข่งขัน สร้างค่านิยมออกสื่อ

    เมื่อเอาของเล่นมาทำจริง ใช้เงินมหาศาลจริง กระบวนการเรียนรู้ก็ได้ของปลอมมา

    ในทางตรงกันข้าม เอาเรื่องจริงมาทำเล่น ศาสนาเป็นแค่พิธีกรรม คุณธรรมเป็นฉากบังหน้า
    เพิ่มวิชาการ ลดวิชาที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

    INPUT = วิชาการ กิฬา ดนตรี ใช้งบ 95%
    ศาสนา กระบวนการปลูกฝังคุณธรรมที่ได้ผลจริง มีไม่ถึง 5%

    PROCESS = เบ้าหลอมที่บิดเบี้ยว

    ดังนั้นจึงได้
    OUTPUT =คนเห็นแก่ตัวที่เก่ง คนที่ขาดจิตสำนึกพลเมือง เต็มแผ่นดิน

    นี่คือมิติด้านการศึกษา ซึ่งเป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของสังคมส่วนใหญ่

    การเมือง

    ระบบให้ตัวแทนทำหน้าที่ โดยมีวาทะกรรมว่า "เท่าเทียม"และ"ประชาธิปไตย" ทำให้พึ่งตัวเองไม่ได้ งอมืองอเท้า ได้แต่เรียกร้อง ชุมนุมประท้วงกัน

    นักการเมืองก็จะครอบด้วยประชานิยม ทำหน้าที่แค่ รักษา แบ่งปันผลประโยชน์ แย่งชิงอำนาจ มีหน่วยงานที่คิดว่าจะมาแก้ปัญหา เช่น สสส. ศูนย์คุณธรรม
    แต่ก็สร้างปัญหาใหม่ก็คือ

    สสส.=ภาษีบาป โกงกิน ออกevent ละลายแม่น้ำกันสนุก
    สร้างภาพลวงตาว่ามีคนแก้ปัญหาสังคมอยู่ คนเป็นมะเร็ง เอายาแก้ปวดไปกินก็พอ
    ศูนย์คุณธรรม = ตั้งใจทำดี ก็ไปเกล้งตัดงบเขา จนสุดท้ายต้องวิ่งไปซบ วธ.

    สำนักพุทธ กระทรวงศาสนา = โดนธรรมกายเจาะ ทะเลาะกันเอง หากินกับพระก็มี

    ศาสนา

    ปัญหาส่วนหนึ่งก็มาจากการศึกษา

    เริ่มจากสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง

    คนที่เป็นชนชั้นกลาง ร่ำรวย จะได้มาอยู่ในตำแหน่งทางการเมืองและเศรษฐกิจต่อไปภายหลัง ส่วนใหญ่ก็นิยมเรียนอินเตอร์

    แบบโรงเรียนฝรั่ง พวก เซ่อร์ กะ เซ้น อะไรต่ออะไร

    จากนั้นก็จะจบนอกแบบนายก ไม่มีโอกาสเห็นคุณค่าหรือได้สัมผัสคุณค่าแท้ของพระศาสนา เนื่องจากการศึกษาสูง ฐานะดี มีสังคม กลับเมืองไทยมาก็จะเป็น เจ้ากระทรวงต่างๆ

    สมัยหนึ่ง ที่นายกเป็นเผด็จการทหาร

    กำลังเห่อฝรั่ง ก็เปลี่ยนวันหยุดราชการ จากวันโกนวันพระ เป็น เสาร์ อาทิตย์

    พวกนี้ไม่รู้หรอกว่า สิ่งที่เปลี่ยน คือหัวใจสำคัญประการหนึ่ง ที่ทำให้ชาติบ้านเมือง ประเทศไทยรอดมาได้ 600-700ปี

    นี่คือจุดเปลี่ยนสำคัญ ที่ทำให้พระพุทธศาสนาและศีลธรรมในเมืองไทยถดถอยลง

    เวลาผ่านไป 50ปี (คน 1GEN) จึงกลายเป็นวิกฤติคุณธรรมอย่างที่เห็น เพราะหน่วยบ่มเพาะคุณธรรม ต่อมละอายชั่วกลับบาปแบบบูรณาการถูกทำลายไป

    ไม่เว้นแม้กระทรวงศึกษา เมื่ออยู่on top ของกระทรวงพวกนี้จึงไม่ให้ความสำคัญกับพุทธศาสนา

    และจับพระพุทธศาสนาแยกออกจากการศึกษา ทั้ง ลด ละ เลิก ตัดทอน จนจากวิชาบังคับ มีหลายคาบ กลายเป็นวิชาเหลือเลือก

    ภาพรวมศาสนาทั้งประเทศ ก็จะเหลือแค่พิธีกรรรม งานแต่ง งานบวช งานตาย

    พอพระไม่ได้ทำหน้าที่ เป็นผู้สอน มากว่า50ปี ก็ว่างงาน หันไป สร้างของขลัง สร้างวัตถุ จนวัดป่ากลายเป็นวัดปูน

    พวกปลอมๆ แบบทุนนิยมสัทธรรมปฎิรูป ก็เติบโต คู่สังคมทุนนิยมเป็นต้นมา
    จะไปโทษท่านหมดก็คงไม่ได้ ท่านอาจปราถนาดี แต่ทำได้แค่สร้างอะไรที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างของขลัง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาคนไม่เข้าวัด

    แต่ก็ไม่ตอบโจทย์ เพราะ เข้าวัดแล้วเข้าอย่างไร ต่างหาก
    ที่สำคัญ ยังขาดความพอเพียงอีกต่างหาก แทนที่จะมุ่งเน้น สร้างคนสร้างการศึกษา ซึ่งเป็นหน้าที่ของตน

    สรุปว่า เมื่อแยกวัดออกจากบ้าน จากการศึกษา จึงเสื่อมทั้งคู่ เสื่อมทั้งบ้าน วัด โรงเรียน

    เพราะไม่ได้ทำหน้าที่ของตน มา 50 ปี

    "อุโบสถ" มาจากภาษาบาลีว่า "อุโปสถ"

    อุป = เข้าไปใกล้
    โอสถ = ยา

    ดังนั้น อุโบสถ จึงแปล ว่า "เข้าไปรับยา"

    ในช่วงชีวิตมนุษย์ที่ไม่เกิน 100 ปี ระยะเวลา
    พระพุทธเจ้าจึงกำหนดให้เข้าไปรับยา(ธัมมะโอสถ)ทุก 7 วัน หรือห่างที่สุด 15 วัน

    มิเช่นนั้น เชื้อโรค โลภ โกรธ หลง จะกำเริบ กิเลศจะล้นออกมาทางวาจา และการกระทำ

    ใน 1 ปี มี วันพระประมาณ 50 วัน เวลาผ่านไป 50ปี คนจึงไม่ได้รับยา 2500 หลอด

    (จากขั้นต่ำสุดที่พระพุทธองค์ กำหนดให้ทุก 7วันครั้ง !!)

    50 ปีที่ผ่านมา สังคมไทยจึงค่อยล่มสลาย เสื่อมทรามศีลธรรมในทุกภาคส่วน

    จนเกิดวิกฤติคุณธรรม ศีลธรรมขึ้น เป็นฟางเส้นสุดท้ายให้เห็น ชนิดที่จับต้นชนปลายหาสาเหตุที่แท้จริงไม่เจอ

    วันโกนวันพระ = 2วัน
    วันเสาร์อาทิตย์ = 2วัน เช่นกัน แต่ต่างอย่างสุดขั้วชนิด นรก VS สวรรค์

    เช่น

    วันโกนวันพระ> วันเสาร์อาทิตย์

    คิดเมนูอาหารก่อนนอน > คิดว่าพรุ่งนี้จะไปเที่ยวที่ไหน
    ตื่นเช้าเตรียมกับข้าวไปทำบุญ > วันแห่งความขี้เกียจ นอนตื่นสาย
    จูงลูกจูงหลานไปที่วัดทั้งครอบครัว > ลูกเข้าห้าง แม่ไปร้านเสริมสวย พ่อตั้งวง
    นั่งล้อมวงทานข้าวกันทั้งชุมชนเกิดความสามัคคี > งานศพงานแต่ง เลือกอบต.ค่อยเจอ(ทะเลาะ)กัน
    แสวงหาความรู้ฟังเทศน์ฟังธรรม > วันกินเที่ยว ดื่ม เสพ มัวเมาชุ่มไปด้วยกาม
    จิตเป็นกุศลตลอดวัน > อกุศลตลอดวัน

    วันใฝ่บุญใฝ่กุศล > วันใฝ่บาปได้อกุศล

    จากที่ทำบุญขั้นต่ำ ทั้งครอบครัวชุมชน ปีละ 50 ครั้ง
    เหลือเพียงปีละ 0-1 ครั้ง
    ในทางกลับกันก็ทำบาปร่วมกันทุกวันทุกคืน

    แต่ฝรั่งกับมุสลิมเขาจะไม่เป็น

    เพราะเขารักษาวิถีนี้ไว้ คือ คริสต์ก็ยังเข้าโบสถ์ทุกวันอาทิตย์ อิสลามก็ยังละหมาดวันละ5เวลา และเข้ามัสยิดทุกวันศุกร์

    50 ปี * 50-60 ล้านคน

    บาปมวลรวมประชาชาติ!! จึงหนักมาก

    สรุป
    ขดอื่นๆของเชือก เศรษฐกิจ การเมือง สังคม ทุกท่านคงทราบดีแล้วว่าเป็นเช่นไร จึงสรุปว่าหมดทางแก้

    ต้องใช้วิธี ตัด เท่านั้น โดยเริ่มจากขดการศึกษา ศาสนาเป็นขดแรกๆ ตามด้วยการตัดขดสื่อ (ถ้าตัดขดผิดก็ยุ่งเหมือนกันนะ)

    ที่สำคัญ ตอนนี้ มีคนอยากตัด ขดสถาบันนะ เพราะคิดว่าคือต้นเหตุสำคัญ

    ตัดแบบนี้แทนที่เชือกที่พันจะขาด
    แต่ประเทศจะขาดแทนเอาได้ง่ายๆ

    พวกที่จะตัดนี่ เขาคิดว่า ขาดก็ขาดนะ ยอมขาด
    แบ่งเป็นไทยเหนือ ไทยใต้ก็ยอม

    โดนสื่อครอบงำ ล้างสมองถึงขนาดนั้นเลย
    ต้องทำและตัดใจครับ
     
  6. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    การขอศีล คือขอรับแบบฝึกหัด แบบเรียนแห่งชีวิต (ภาษาบาลีมีความหมายเช่นนั้น)
    การรักษาสัจจะนั้นเป็นเรื่องสำคัญ

    แต่จุดประสงค์หลักคือ ต้องการให้เกิดสติรู้ตัวในชีวิตประจำวัน
    หากตั้งใจดีที่สุดแล้ว หากพลั้งเผลอพลาดไปในข้อเล็กน้อย

    ก็มีการแสดงอาบัติ เพื่อเกิดสติ ทบทวนสิ่งที่พลาดไป ตั้งใจเริ่มต้นใหม่

    จึงเป็นแบบฝึกหัดแบบเรียนแห่งชีวิต (ตรงต้องตามบาลี)
    นี่เป็นขั้นศีลเบื้องต้น
    ขั้นอภิศีล ขั้น อภิสมาธิ ขั้นอภิปัญญา สำหรับผู้มีสัจจะ
    ก็จะได้เรียนรู้อีกแบบ

    ดังนั้น พระรัตนตรัย จึงเป็นระบบการศึกษาที่สมบูรณ์และสูงสุด ทั้งขั้นปุถุชน และอริยชน
     
  7. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    ทวนกันอีกครั้ง ก่อนปฎิรูปประเทศไทย

    [​IMG]

    ลูกศรสีชมพูในภาพ

    นอกจากชนชั้นปกครองของไทยจะนิยมเรียนอินเตอร์
    แบบโรงเรียนฝรั่ง พวก เซ่อร์ กะ เซ้น อะไรต่ออะไร ดังกล่าวแล้วในมิติการศึกษา

    [​IMG]

    การยึดครองประเทศด้วยภาษาค่านิยมวัฒนธรรม และทุนนิยม ก็เกิดขึ้นหลังสิ้นสุดยุคล่าอณานิคม

    ทหารไทย คงตามไม่ทันกับการยึดครองประเทศโดยไม่ใช้อาวุธแบบนี้
    ยิ่งเจอกับ New world order ยิ่งแล้วใหญ่ กว่าจะรู้ตัวก็แทบสิ้นชาติ..

    เหลือเพียงทหารที่เป็น"นักรบทางวัฒนธรรม"แค่หยิบมือเท่านั้นที่ทำหน้าที่นี้อยู่

    หนึ่งในNWO ก็คือการใช้สื่อเป็นเครื่องมือสะกดจิต ซึ่งสหรัฐวิจัยพบความลับของศาสตร์ด้านนี้มานานแล้ว

    [​IMG]

    media =mind control

    ฮอลลี่วู๊ด เป็นสื่อที่ต่ำกระด้าง
    ใช้ ความโลภ(เรื่องเพศ) ความโกรธ(สงคราม ความรุนแรง) ความหลง(บริโภคนิยม) เป็นจุดขาย ซึ่งตรงกับจริตของคนหมู่ใหญ่

    ดังในพระไตรปิฎก ก็กล่าวไว้ รวมถึงทางแก้ด้วยชาดกดังนี้

    มหิฬามุขชาดก

    ช้างดีได้ฟังโจรพูดกันยังกลายเป็นช้างที่ดุร้าย
    นับประสาอะไรกับเด็กเยาวชน ที่ชมสื่อน้ำเน่าทางโทรทัศน์ทุกวัน จะไม่กลายเป็นคนทราม

    ดังนั้นทางออกก็คือ ต้องตัดขดสื่อ
    ให้กลายเป็น ให้คนดีมีศีลธรรมผลิตสื่อสร้างสรรค์และเป็นครูของชาติ

    นอกจากปัญหาค่านิยมไทยเสื่อมทรุด(พร้อมศาสนา เมื่อ 50ปีก่อน เพราะศาสนาและวัฒนธรรมไทยวิวัฒน์มาคู่กัน) จนไม่กล้าแต่งชุดไทยออกนอกบ้าน ไม่มีชุดไทยอยู่ในตู้เสื้อผ้า วัฒนธรรมไทยที่มีค่าจึงเหลือเพียงวิชาเรียนที่ผิวเผินและถูกนำไปรับใช้กิเลสของผู้ใหญ่่ (ดังรูป)

    ข้อนี้ต้องใช้วิธีถนอมรากเก่าให้งอกรากใหม่

    เดี่ยวนี้ค่านิยมเกาหลี ค่านิยมญี่ปุ่น ก็มาแรงด้วยเช่นกัน

    เกาหลี
    ซีรีย์เกาหลี แม้จะสร้างค่านิยมแทนที่ค่านิยมไทย
    แต่ก็ให้ข้อคิด ด้านสื่อที่ดี (พัฒนาตัวเองให้สูงกว่าฮอลลี่วู๊ดได้อีกขั้น)
    เห็นมิติของ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ความขัดแย้งและอำนาจ
    แม้จะมีเรื่องความรักของหนุ่มสาว แต่ก็ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น เป็นการรักชาติ เสียสละเพื่อส่วนรวม

    สื่อเมืองไทยยังห่างชั้น และด้อยค่ากว่ากันอีกหลายขุม หากปฎิรูปสื่อไม่ได้ ก็ต้องรอให้ เกิดความขัดแย้ง แตกแยกร้าวฉาน จนต้องแบ่งเป็นเหนือ-ใต้เช่นเขา สื่อบ้านเราจึงจะตื่น

    ญี่ปุ่น
    การ์ตูนโดเรมอน ทำให้ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศที่พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์แบบก้าวกระโดด

    หนังโป้ญี่ปุ่น มาจากการต้องการเพิ่มประชากรของประเทศจากหลังแพ้สงคราม
    และการไม่มีศาสนาของประเทศ หลังอเมริกาเข้ามาครอบงำ ทำลายศาสนา ลัทธิชาตินิยม

    ชาวญี่ปุ่นจึงมีทั้งพวกไม่มีศาสนา ที่มีอีโก้ของตัวเองเป็นที่พึ่ง และศาสนาใหม่ ที่ผสมระหว่างพระเจ้าและตัวกูของกู

    ศาสนาพุทธในญี่ปุ่นเหลือเพียงพิธีกรรม งานแต่ง งานตาย และแฝงเร้นไร้รูปแบบเช่น ZEN

    เมื่อไร้ราก หลากลัทธิ หลากความเชื่อ หลากศาสนาจึงวิวัฒน์เฟื่องฟู ในประเทศแถบนี้

    และระบาดเข้ามาทำลาย รากที่ไม่มั่นคงในประเทศไทยด้วย

    ปรากฏการณืซี่รี่ย์เกาหลี เกิดจากการถูกรมควันและไฟสงครามความขัดแย้งของ เหนือ-ใต้ ทำให้ทุกภาคส่วนต้องเค้นทุกสรรพกำลัง เพื่อความอยู่รอด

    ฝ่ายเหนือเลือกที่จะพัฒนากำลังทหารและนิวเคลียร์ โดยมียักษ์ใหญ่เช่นจีนและศัตรูมิตรเช่นประเทศมุสลิมคอยเชียร์อยู่ข้างๆ

    ฝ่ายใต้ เลือกที่จะพัฒนาประเทศตามระบบทุนนิยม โดยมีพี่ใหญ่อย่างสหรัฐคอยหนุน

    เพื่อถ่วงดุลอำนาจของโลก ทั้งหมดนี้มิได้เป็นสงครามเย็น แต่เป็นปราการที่เปราะบาง พร้อมปะทุแตกร้าวได้ทุกเมื่อ

    สื่อจึงเป็นหนึ่งในความอยู่รอด หรือสร้างความสมานฉันท์ที่ไม่มีทางเป็นไปได้ของประเทศนี้


    สหรัฐรู้ข้อนี้ดี สงครามที่อีรัก จึงไม่ได้เกิดขึ้นจากผลประโยชน์ด้านน้ำมันอย่างเดียว แต่เกิดจากการตามหา เทคโนโลยีนิวเคลียร์ที่รั่วออกมาตอนรัสเซียล่มสลาย

    นั่นคือเหตุผลที่ ทำไมจู่ๆ ปากีสถาน จึงสร้างนิวเคลียร์ได้สำเร็จ

    แม้อีรักจะไม่มีนิวเคลียร์ แต่ อิหร่าน เกาหลีเหนือ ไม่เว้นแต่พม่า หรือเขมรก็กำลังจะมีนิวเคลียร์ด้วย

    นี่จึงเป็นสาเหตุที่พี่ไทยอยากจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กะเขาด้วย

    สมดุลนิวเคลียร์กำลังจะถูกทำลาย ระเบิดเวลาทั้งภัยสงคราม ภัยธรรมชาติ
    กำลังรอวันปะทุ

    สหรัฐจึงเร่งพัฒนาเทคโนโลยีอาวุธ ที่ร้ายแรงกว่านิวเคลียร์ เพื่อหยุดทุกๆประเทศที่เป็นศัตรู

    HARRP ยังไม่รุนแรงพอและมีผลกระทบมาก CERN และ Tevatron จึงเป็นความหวังของเขา

    อนุภาคพระเจ้า ที่จะยับยั้งหรือทำลายล้างทุกประเทศที่เป็นอริของพระผู้เป็นเจ้า

    สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม

    ประเทศไทย รายรอบไปด้วยผู้ที่อยากเข้ามายึดครอง กอบโกยผลประโยชน์ ยึดตรงๆไม่ได้ เศรษฐีน้ำมันก็มากว้านซื้อที่ ซื้อหุ้น สร้างไฟใต้

    ไก่ที่อยู่ในกรง รอวันถูกเชือด ก็ไม่วายจิกกันเอง

    หากไฟใต้ และไฟความขัดแย้งในประเทศเรา มิอาจทำให้ทุกภาคส่วนสะดุ้งตื่นขึ้นมาปฎิรูปประเทศ ทั้ง การศึกษา สื่อ สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา ได้สำเร็จ
    (ดีไม่ดี วาทะกรรมปฎิรูปนี่แหละที่จะถูกใช้เป็นเครื่องมือล้มต้นมะม่วง)

    หนทางที่เหลือคือ
    คงต้องรอให้สังคมนี้ถึงวันหายนะ
    จึงจะสามารถระดมสรรพกำลังฟื้นฟูประเทศนี้ขึ้นมาใหม่

    จะฟื้นหรือล้มไปเลย
    หรือ
    จะฟื้นแล้วมีแรง ฝ่าระเบิดเวลาของโลกและภัยธรรมชาติไปได้หรือไม่นั้น
    ก็ขึ้นอยู่กับการสร้างเหตุแห่งการกำหนดทิศและการเตรียมเสบียง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 สิงหาคม 2010
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ตอนนี้ ต่างชาติเข้ามาประเทศไทยเยอะมากๆ (เห็นข่าวพวกอาชญากรรม ค้ายา ปล้น จี้ ราชเพชร อะไรพวกเนี่ยะ)

    เมื่อก่อนไม่เคยเห็นคนดำยืนอยู่ตามถนนเลย เ่ดี๋ยวนี้เยอะมาก

    เดินไปตามถนน ได้ยินแต่เสียงภาษาชาติอื่น (ที่ไม่ใช่ภาษาไทย) คุยกัน

    งงมากๆ เลยนะ เข้ามาเยอะจนน่ากลัวอ่ะ ดูจะเหมือนกรุงลอนดอนเข้าไปทุกที คนอังกฤษแท้ๆ หายากจริงๆ
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คุณธัมมะอาสา กล่าวเรื่องศีลไว้ได้ดี สาธุ

    ศีล เป็นเครื่องกั้น(กำจัด)กิเลส อย่างหยาบ
    สมาธิ เป็นเครื่องกั้น(กำจัด)กิเลส อย่างกลาง
    ปัญญา เป็นเครื่องกั้น(กำจัด)กิเลส อย่าละเอียด


    การที่เรามีศีล ก็ข้อมูลในใจว่า เราจะไม่ทำผิด พอเวลาจะทำผิดตัว "สติ" จะออกมาแล้ว เราก็ไม่ทำผิดศีล (เช่น อยากจะด่าคน แต่พอมี "สติ" ก็ฮ่ะแฮ่ม ด่าจะผิดศีลเน้อ เลยไม่ด่า) การมีศีล คือ การที่มีกิเลสมาแล้วไม่ทำตาม (อยู่ในขอบข่ายของข้อกำหนดที่ตั้งไว้) ไม่ใช่ คนขี้เมา กลางวันไม่กินเหล้า ถือว่ามีศีล คือ ถ้ามีคนเอาเหล้ามาให้บอกว่า ไม่เอา เพราะจะผิดศีล นั่นแหล่ะถือว่ามีศีล

    ส่วนสมาธิ ก็คอยกั้น(กำจัด) กิเลส อย่างกลาง เช่น พวกนิวรณ์ ความง่วงเหงาหาวนอน ความฟุ้งซ่าน


    ส่วนปัญญา ก็่เป็นเครื่องกำจัดกิเลส อย่างละเอียด พวกอนุสัย (ปกติมันซ่อนอยู่ลึก บางทีมันก็หลบมันเก่งมั๊ก ติดมาหลายภพชาติ หรือ ภาษาชาวบ้านเรียกว่า "สันดาน" นั่นเอง) ปัญญาจะกำจัดกิเลสอย่างละเอียด พวกนี้เอาศีลมากำจัดก็อาจจะยากอยู่ ใช้เครื่องมือไม่เหมาะกับงาน


    ทั้งนี้ ทั้งนั้นแต่ละอย่างก็มีระดับของมันแหล่ะ ระดับเบื้องต้น จนระดับสูงสุด
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ลองอ่านกันดู

    [​IMG]

    ประกาศ
    ขอให้ประชนคนไทย......... ????
    อนุรักษ์ สืบสาน
    สภาพแวดล้อม ศาสนา
    วัฒนธรรม ...........
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เฮ้ย มีการงอน
    คุณหนุมานงอนเป็นด้วย :boo:
    สนใจแหล่ะ คุณหนุมานบอกอะไรมีคนสนใจแหล่ะ
    แต่ว่าบางทีมันเยอะไปไง ซ้ำๆ กันเยอะไป มันเลยดูจืดไปนิด
    (อย่าว่ากันน๊า) ... :cool:


    (k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)(k)
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ติดตามอ่านอยู่ครับ ช่วยกันถอดรหัสและลงมือทำตามที่พระองค์ท่านทรงพระราชทานแนวคิดแนวทางเอาไว้ให้กันครับ

    เมื่อวานได้ไปที่ศาลาศิริราช เห็นรูปพระมหาชกและนางมณีเมขลาเป็นปริศนา สองรูปวางคู่กันทางด้าน ขวามือของพระบรมฉายาลักษณ์องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

    รูปหนึ่งเป็นรูปแกะสลักจากไม้สักทอง

    รูปที่สองเป็นการปักผ้าไหมมีลักษณะนูนและมีความอ่อนนุ่ม

    มีความหมาย นัยยะ อย่างไรบ้างหนอ

    ความเพียรอันบริสุทธิ์เป็นเช่นไรหนอ
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    นางมณีเมขลาช่วยพระมหาชนกพ้น จากเรืออับปางกลางทะเล จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม ชลบุรี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น

    ..นางมณีเมขลา ทดสอบพระมหาชนก..

    นางมณีเมขลา ผู้ตรวจ ตรามหาสมุทรในครานั้น ได้สำรวจตรวจเจอมหาชนกราชกุมาร ผู้ว่าย น้ำอยู่ในมหาสมุทรหลังจากที่นาง มิได้ตรวจตรามาเป็นเวลา 7 วัน 7 คืน

    นางจึงตกแต่งสรีระ สถิตอยู่ในอากาศอยู่ไม่ไกลจากมหาชนก เพื่อที่จะทดสอบพระมหาชนก

    จึงได้กล่าวคาถาแรกว่า:
    "นี่ใคร เมื่อแลไม่เห็นฝั่งก็อุตสาหพยายามว่ายอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร
    ท่านรู้ อำนาจประโยชน์อะไร จึงพยายามว่ายอยู่อย่างนี้หนักหนา"

    ครั้งนั้น พระมหาชนกทรงดำริว่า:
    "เราว่ายข้ามมหาสมุทรมาได้เจ็ดวันเช้าวันนี้ ไม่เคยเห็นเพื่อนของเราเลยนี่ใครหนอมาพูด กับเรา"

    เมื่อแลไปในอากาศก็ทอดพระเนตรเห็นนางมณีเมขลา พระองค์จึงกล่าวคาถาที่สองไปว่า :
    "ดูก่อนเทวดา เราไตร่ตรองเห็นปฏิปทาแห่งโลก และอานิสงค์แห่งความเพียรเพราะ ฉะนั้นถึงจะมองไม่เห็นฝั่งเราก็ต้องพยายามว่ายอยู่ ท่ามกลางมหาสมุทร"

    นางมณีเมขลาปรารถนาจะฟังธรรมกถาจากพระมหาชนก จึงกล่าวคาถาอีกว่า:
    "ฝั่งมหาสมุทรลึกจนประมาณไม่ได้ ย่อมไม่ปรากฏแก่ท่าน ความพยายามอย่าง
    ลูกผู้ชาย ของท่านก็เปล่าประโยชน์ท่านไม่ทันถึงฝั่งก็จัก ตาย"

    ครั้งนั้น พระมหาชนก ตรัสกับนางมณีเมขลาว่า:
    "ท่านพูดอะไรอย่างนั้น เราทำความพยายาม แม้ตายก็จักพ้นครหา"
    ตรัสฉะนี้ แล้ว จึงกล่าวคาถาว่า:

    "บุคคลเมื่อกระทำความเพียร แม้จะตายก็ชื่อว่าไม่เป็นหนี้ในระหว่างหมู่ญาติ เทวดา และบิดามารดาอนึ่ง บุคคลเมื่อทำกิจอย่างลูกผู้ชาย ย่อมไม่เดือดร้อนในภายหลัง"

    เวลานั้น นางมณีเมขลาได้กล่าวต่อพระมหาชนกว่า:
    "การงานอันใด ยังไม่ถึงที่สุดด้วยความพยายาม การงานอันนั้นก็ไร้ผล
    มีความลำบากเกิดขึ้น การทำความพยายามในฐานะอันไม่สมควรใดจนความตายปรากฏขึ้น

    ความพยายาม ในฐานะอันไม่สมควรนั้นจะมีประโยชน์อะไร"

    เมื่อนางมณีเมขลากล่าวอย่างนี้แล้ว พระ มหาชนกจึงได้ตรัสคาถาต่อไปว่า:

    "ดูก่อนเทวดา ผู้ใดรู้แจ้งว่าการงานที่ทำจะไม่ลุล่วงไปได้จริงๆ
    ชื่อว่าไม่ รักษาชีวิตของตน ถ้าผู้นั้นละความเพียรในฐานะเช่นนั้นเสีย ก็จะพึงรู้ผลแห่งความเกียจคร้าน


    ดูก่อน เทวดา คนบางพวกในโลกนี้เห็นผลของความประสงค์ของตนจึงประกอบการงานทั้งหลายการงาน เหล่านั้นจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม

    ดูก่อน เทวดา ท่านก็เห็นผลแห่งกรรมประจักษ์แก่ ตนแล้วมิใช่หรือ
    คนอื่นๆ จมในมหาสมุทรหมด เราคนเดียวยังว่าย ข้ามอยู่
    และได้เห็น ท่านมาสถิตอยู่ใกล้ๆเรา เรานั้นจักพยายามตามสติกำลัง
    จักทำความเพียรที่บุรุษควรทำ ไปให้ถึงฝั่งแห่งมหาสมุทร"


    นางมณีเมขลาได้ยินดังนั้นจึงได้อุ้ม พระมหาชนกไปส่ง ยังเมืองมิถิลานคร


    ------------------------------------------------------------
    วันนี้ผมนั่งอ่านบทความเกี่ยวกับ พระมหาชนกอีกครั้งครับ
    รู้สึกประทับใจอย่างไรบอก ไม่ ถูก ไม่รู้จะไประบายกับใครที่ไหน
    ก็เอามาพิมพ์เล่นไว้ในนี้ ใครใคร่นำไว้เป็นคำสอนในการดำเนินชีวิต
    ก็ขอให้พบความสำเร็จยัง เมือง มิถิลานคร

    "ความเพียรนั้นต้องถามด้วย หรือ ว่าความสำเร็จอยู่ที่ใด"
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 สิงหาคม 2010
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    อิอิ

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="2" width="100%"><tbody><tr><td bgcolor="#454545"><table border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td valign="top">ปฏิทินเดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ปีมะเส็ง <sup>1</sup> จุลศักราช ๑๓๗๕
    คริสตศักราช ๒๐๑๓ , มหาศักราช ๑๙๓๕ , รัตนโกสนทรศก ๒๓๒ ปกติสุรทิน ปกติมาส ปกติวาร เบญจศก
    วาร(วัน)กาลโยค ธงชัย : ๕ , อธิบดี : ๑ , อุบาทว์ : ๔ , โลกาวินาศ : ๓ ยาม(เวลา)กาลโยค ธงชัย : ๑ , อธิบดี : ๓, อุบาทว์ : ๘ , โลกาวินาศ : ๗</td> <td align="right">พฤษภาคม ๒๕๕๖</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td background="image/dot_h2.gif" height="1">
    </td> </tr> <tr> <td><table bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="3" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr style="text-align: center;"><td bgcolor="#c1c6cc">วัน อาทิตย์</td><td bgcolor="#c1c6cc">วันจันทร์</td><td bgcolor="#c1c6cc">วันอังคาร</td><td bgcolor="#c1c6cc">วันพุธ</td><td bgcolor="#c1c6cc">วัน พฤหัสบดี</td><td bgcolor="#c1c6cc">วันศุกร์</td><td bgcolor="#c1c6cc">วันเสาร์์</td></tr><tr><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td background="image/moon_puk/day_labor.gif" bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">วันแรงงาน</td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๖ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๗ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">[​IMG]</td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๘ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๙ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td></tr><tr><td background="image/moon_puk/day_chatra.gif" bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">วันฉัตรมงคล</td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑๐ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑๑ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑๒ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑๓ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">[​IMG]</td><td align="center"></td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑๔ ค่ำ
    เดือนห้า(๕) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๐</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๑</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๒ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td></tr><tr><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๒</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๓ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๓</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๔ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๔</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๕ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๕</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๖ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๖</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๗ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">[​IMG]</td><td align="center">๑๗</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๘ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๘</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๙ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td></tr><tr><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๑๙</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๐ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๐</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๑ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๑</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๒ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๒</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๓ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๓</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๔ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td background="image/moon_puk/day_vesaka_puja.gif" bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">วิสาขบูชา</td></tr><tr><td width="16" height="16">[​IMG]</td><td align="center">๒๔</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>ขึ้น ๑๕ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๕</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๑ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td></tr><tr><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๖</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๒ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๗</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๓ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๘</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๔ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๒๙</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๕ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๓๐</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๖ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#e5e5e5" valign="top" width="138" height="90"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3" align="center" height="16">
    </td></tr><tr><td width="16" height="16">
    </td><td align="center">๓๑</td><td width="16"> </td></tr></tbody></table><center>แรม ๗ ค่ำ
    เดือนหก(๖) ปีมะเส็ง


    </center></td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td></tr><tr><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td><td bgcolor="#f7f7f7" width="138" height="0">
    </td></tr></tbody></table></td> </tr> </tbody></table> <script language="javascript"><!-- var state = 'none'; function showhide(layer_ref) { if (state == 'block') { state = 'none'; } else { state = 'block'; } if (document.all) { //IS IE 4 or 5 (or 6 beta) eval( "document.all." + layer_ref + ".style.display = state"); } if (document.layers) { //IS NETSCAPE 4 or below document.layers[layer_ref].display = state; } if (document.getElementById &&!document.all) { hza = document.getElementById(layer_ref); hza.style.display = state; } } //--> </script>
    <table style="background-image: url(&quot;images/bg.gif&quot;);" bgcolor="#f7f7f7" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td width="6">[​IMG]</td> <td style="border-top: 1px solid rgb(193, 198, 204);">[​IMG]</td> <td width="6">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td style="border-left: 1px solid rgb(193, 198, 204);" height="100%">[​IMG]</td> <td bgcolor="#f7f7f7" valign="top"><table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="25">ดิถี มหาโชค </td> </tr> <tr> <td>
    วันดี ดิถีมหาโชค ดิถีมงคล 5 ประการ
    โบราณถือกันมาก

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td valign="top" width="130" height="40">ดิถีอำมฤตโชค</td> <td valign="top">เป็นดิถีดีที่ สุด เหมาะแก่การมงคล ดีสำหรับงานทั่วไปเกี่ยวกับความราบรื่นและสบาย ใช้ได้ทั้งข้างขึ้นและข้างแรม แต่ที่นิยมถือกันว่าข้างขึ้น ดีกว่าข้างแรม แต่อย่างไรก็ตามข้างแรมก็ใช้ได้ให้คุณเช่นกัน
    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> เสาร์</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff"> ข้างขึ้น-แรม ค่ำ </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 2</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" height="40">ดิถี มหาสิทธิโชค</td> <td valign="top">เป็นดิถีที่ดี รองลงมา เหมาะแก่การมงคล ดีสำหรับงานสำคัญที่เป็นโครงการระยะสั้น ใช้ได้ทั้งข้างขึ้นและข้างแรม แต่ที่นิยมถือกันว่าข้างขึ้น ดีกว่าข้างแรม แต่อย่างไรก็ตามข้างแรมก็ใช้ได้ให้คุณเช่นกัน
    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> เสาร์</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">ข้าง ขึ้น-แรม ค่ำ </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 14</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" height="40">ดิถี สิทธิโชค</td> <td valign="top">เป็นดิถีที่ดี รองลงมา เหมาะแก่การมงคล ดีสำหรับงานที่เป็นโครงการระยะยาว ใช้ได้ทั้งข้างขึ้นและข้างแรม แต่ที่นิยมถือกันว่าข้างขึ้น ดีกว่าข้างแรม แต่อย่างไรก็ตามข้างแรมก็ใช้ได้ให้คุณเช่นกัน
    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> เสาร์</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">ข้าง ขึ้น-แรม ค่ำ </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 14</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 13</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 15</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> <tr> <td valign="top" height="40">ดิถี ชัยโชค </td> <td valign="top">เป็นดิถีที่ดี รองลงมา เหมาะแก่การมงคล ดีสำหรับงานที่ต้องต่อสู้แข่งขันหรือรบทับจับศึกใช้ได้ทั้งข้างขึ้นและข้าง แรม
    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> เสาร์</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">ข้าง ขึ้น-แรม ค่ำ </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 13</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11 * </td> </tr> </tbody></table> * ควรเลี่ยงวันเสาร์ ข้างขึ้นและข้างแรม 11 ค่ำ เพราะไปตรงกับดิถีร้าย ดิถีวันบอด

    </td> </tr> <tr> <td valign="top" height="40">ดิถี ราชาโชค</td> <td valign="top">เป็นดิถีที่ดี รองลงมา เหมาะแก่การมงคล ดีสำหรับงานที่ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ใช้ได้ทั้งข้างขึ้นและข้างแรม
    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc"> เสาร์</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">ข้าง ขึ้น-แรม ค่ำ </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6 * </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> </tr> </tbody></table> * ควรเลี่ยงวันอาทิตย์ ข้างขึ้นและข้างแรม 6 ค่ำ เพราะไปตรงกับดิถีร้าย ดิถีพิลา

    </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="25">ดิถี ไม่ดี / วันไม่ดี</td> </tr> <tr> <td>ดิถีที่ควรหลีกเลี่ยง สำหรับการมงคล คือ ทักทิน, ทรธึก, ยมขันธ์, อัคนิโรธ, ทินกาล, ทินศูร, กาลโชค, กาลสูร, กาลทัณฑ์, โลกาวินาศ, วินาศ, พิลา, มฤตยู, บอด, กาลทิน, ดิถีพิฆาต, ทักทินไฟ, ทินสูรย์, กาลกรรณี

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td valign="top" width="130" height="40">ดิถีไม่ดี</td> <td valign="top"><table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="550"> <tbody><tr> <td align="left" bgcolor="#cccccc" width="130"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">เสาร์</td> <td align="left" bgcolor="#cccccc">ดิถี</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5 </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td bgcolor="#ffffff"> ทักทิน</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td bgcolor="#ffffff"> ทรธึก</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td bgcolor="#ffffff">ยมขันธ์</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td bgcolor="#ffffff">อัคนิ โรธ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 2</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td bgcolor="#ffffff"> ทินกาล</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 15</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td bgcolor="#ffffff">ทินศูร</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td bgcolor="#ffffff">กาลโชค</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 2</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td bgcolor="#ffffff">กาลสูร</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6 </td> <td bgcolor="#ffffff">กาล ทัณฑ์</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td bgcolor="#ffffff">โลกา วินาศ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5 </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6 </td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td bgcolor="#ffffff">วินาศ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 12</td> <td bgcolor="#ffffff">พิลา</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td bgcolor="#ffffff">มฤตยู</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 4</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 14</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td bgcolor="#ffffff"> วันบอด</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff"> 7</td> <td bgcolor="#ffffff">กาลทิน</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> <td bgcolor="#ffffff">ดิถี พิฆาต</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">10</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">6</td> <td bgcolor="#ffffff">ทักทิน ไฟ</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">2</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> <td bgcolor="#ffffff">ทิน สูรย์</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">5</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">15</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">1</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">2</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">10</td> <td bgcolor="#ffffff">กาลกรรณี</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="25">ดิถี อื่นๆ </td> </tr> <tr> <td>
    ดิถีมหาสูญ

    เป็นวันห้ามทำการมงคล ซึ่งโบราณถือกันมาก แม้จะตรงกับวันดีเท่าใดห้ามการมงคล ดิถีมหาสูญแต่โบราณนั้นท่านกำหนดตามเดือนทางจันทรคติและดิถีดังนี้ (ดิถี คือข้างขึ้นข้างแรม)

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="130">เดือน 6 กับเดือน 3</td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 4 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 7 กับเดือน 10</td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 8 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 8 กับเดือน 5</td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 6 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 11 กับเดือน 2</td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 12 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 9 กับเดือน 12 </td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 10 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 1 กับเดือน 4</td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 2 ค่ำ</td> </tr> </tbody></table>
    ดิถีพิฆาต
    เป็นวันห้ามทำการมงคลอีกตำราหนึ่ง เป็นดิถีไม่ดี วันอัปมงคล

    <table bgcolor="#dddddd" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="486"> <tbody><tr> <td align="left" bgcolor="#cccccc" width="130"> วัน</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">อาทิตย์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">จันทร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">อังคาร</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">พุธ</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">พฤหัสบดี</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">ศุกร์</td> <td align="center" bgcolor="#cccccc" width="45">เสาร์</td> </tr> <tr> <td align="left" bgcolor="#ffffff">ข้างขึ้น-แรม ค่ำ</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">12</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">11</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">7</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">3</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">6</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">9</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff">8</td> </tr> </tbody></table>
    ดิถีอัคนิโรธ (ไม่มีแสดงในปฏิทิน)
    อัคนิโรธหรือนางกาลกรรณีวิลัยวรรณ ก็คือชื่อของบุตรีของพญามัจจุราช มีผมแดง แต่งกายและทัดดอกไม้แดง เหาะล่องลอยมาในอากาศแล้วก็ตกลงสู่บ้านเรือนผู้คนในวันดิถีต่างๆ แสดงถึงอาเพศและเคราะห์หามยามร้ายต่างๆหากเราไปกระทำการมงคล ที่ต้องกับอัคนิโรธในวันนั้นๆ
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>ดิถีขึ้นหรือแรม 1 ค่ำ</td> <td width="30"> </td> <td>อัคนิโรธตกลงในวัวควาย ท่านห้ามซื้อขายวัวควาย เปิดคอกปศุสัตว์</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 2 ค่ำ</td> <td> อัคนิโรธตกลงในป่า ห้ามไปเที่ยวป่า เดินทางในป่าเขา ต้ดไม้</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 3 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในน้ำ ห้ามมิให้เดินทางโดยทางน้ำ ทางเรือ เล่นน้ำ หรือขุดบ่อขุดสระ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 4 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในภูเขา ห้ามไปเที่ยวเขา ปีนเขา</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 5 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในที่ทางเขตคาม ห้ามิให้แบ่งที่ทาง รังวัดที่ดิน</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 6 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในบ้านเรือน ห้ามมิให้ทำการมงคลยกเสาเอก ปลูกบ้านเรือน ขึ้นบ้านใหม่ ย้านเข้าบ้านใหม่ หรือทำการมงคลใดใดในบ้านเรือน</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 7 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในพระราชวัง ห้ามมิให้ทำการอภิเษกพระราชา</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 8 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในยวดยาน ห้ามมิให้ซื้อขายยวดยาน หัดขับขี่ ออกรถใหม่ ฯลฯ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 9 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในแผ่นดิน ห้ามมิให้ขุดหลุมปลูกเรือน ขุดดิน ขุดบ่อ ถมดิน ฯลฯ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 10 ค่ำ</td> <td> คนิโรธน์ตกลงในเรือ ห้ามลงเรือ ห้ามต่อเรือ เอาเรือลงจากคาน</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 11 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในพืชพรรณ ห้ามปลูกต้นไม้ เพาะชำ หว่าน ตอนต้นไม้ ฯลฯ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 12 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในตัวสตรี ห้ามซ่องเสพกับสตรี แต่งงาน ส่งตัวเจ้าสาว ฯลฯ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 13 ค่ำ</td> <td> อัคนิโรธตกลงในตัวบุรุษ ห้ามซ่องเสพกับบุรา แต่งงาน ส่งตัวเข้าเรือนหอ ฯลฯ</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 14 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในพัทธสีมา ห้ามมิให้ทำการอุปสมบทและบรรพชา</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ดิถีขึ้นหรือแรม 15 ค่ำ</td> <td>อัคนิโรธตกลงในเทวาอารักษ์ทั้งหลาย ห้ามมิให้ทำการเซ่นสรวงบวงพลี ไหว้ครู บูชาเทพทั้งปวง</td> </tr> </tbody></table> หากใครทำการโดยไม่ดูข้อห้ามดิถีอัคนิโรธ ต่างๆที่กล่าวมานี้ จะให้การทั้งปวงวิบัติ หาความเจริญมิได้ ดังนั้นเราจึงควรหลีกเลี่ยงวันทำการต่างๆที่ดิถีอัคนิโรธท่านได้ห้ามเอาไว้

    ดิถีร้าย/วันทรธึก
    เป็นวันอันตราย เป็นวันห้ามทำการมงคล แม้จะตรงกับ ดิถีที่ดีอื่นๆ
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="130">เดือน 5 , 6 , 7 </td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 7 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 8 , 9 , 10 </td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 8 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 11 , 12 , 1 </td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 9 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 2 , 3 , 4 </td> <td> </td> <td>ห้ามวัน ขึ้น/แรม 4 ค่ำ</td> </tr> </tbody></table>
    ดิถีอายกรรมพลาย

    เรียกกันว่า วันภาณฤกษ์ / วันดาวกำพลาย เป็นดิถีห้ามทำการมงคล <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="120"> </td> <td align="center" width="45">ปฐม</td> <td align="center" width="45">ทุ ติยะ</td> <td align="center" width="45">ตติ ยะ</td> </tr> <tr> <td>เดือน 3 , 7 </td> <td align="center">4</td> <td align="center">5</td> <td align="center">6</td> </tr> <tr> <td>เดือน 4 , 11 </td> <td align="center">1</td> <td align="center">2</td> <td align="center">3</td> </tr> <tr> <td>เดือน 5 , 11 </td> <td align="center">13</td> <td align="center">14</td> <td align="center">15</td> </tr> <tr> <td>เดือน 6 </td> <td align="center">10</td> <td align="center">11</td> <td align="center">12</td> </tr> <tr> <td>เดือน 8 </td> <td align="center">6</td> <td align="center">7</td> <td align="center">8</td> </tr> <tr> <td>เดือน 9 </td> <td align="center">3</td> <td align="center">4</td> <td align="center">5</td> </tr> <tr> <td>เดือน 12 </td> <td align="center">2</td> <td align="center">3</td> <td align="center">4</td> </tr> <tr> <td>เดือน 1 </td> <td align="center">9</td> <td align="center">10</td> <td align="center">11</td> </tr> <tr> <td>เดือน 2 </td> <td align="center">7</td> <td align="center">8</td> <td align="center">9</td> </tr> </tbody></table>
    ดิถี ปฐม ทุติยะ ตติยะล้วนแต่ไม่ดีทั้งสิ้น ท่านว่าดิถีปฐม จะลำบากยุ่งยาก , ดิถีทุติยะ ร้ายกว่าอันแรกจะได้รับอันตราย , ดิถีตติยะ ร้ายแรงที่สุด

    กระทิงวัน
    เป็นวันที่ เลขของวันและเดือนตรงกัน วันกับดิถีตรงกัน , เดือนกับดิถีตรงกัน หรือ วัน ดิถี และเดือน ตรงกัน เป็นวันห้ามทำการมงคล โบราณว่าเป็นวันแรง เป็นวันแข็งไม่นิยมในการมงคล แต่เหมาะสำหรับการ ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง และคาถาอาคม ยิ่งเลขของปีตรงกันก็ยิ่งแข็งมาก อย่างเช่น วันอังคาร (เลข 3) เดือน 3 ปีขาล (เลข 3)
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="130">วันอาทิตย์ (1)</td> <td>เดือน 1 (อ้าย) </td> <td> </td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 1 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันจันทร์ (2) </td> <td colspan="2"> เดือน 2 (ยี่)</td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 2 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันอังคาร (3) </td> <td colspan="2">เดือน 3</td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 3 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันพุธ (4)</td> <td colspan="2">เดือน 4 </td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 4 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันพฤหัสบดี (5) </td> <td colspan="2">เดือน 5 </td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 5 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันศุกร์ (6)</td> <td colspan="2"> เดือน 6 </td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 6 ค่ำ</td> </tr> <tr> <td>วันเสาร์ (7) </td> <td colspan="2"> เดือน 7 </td> <td>ตรงกับ วันขึ้นหรือแรม 7 ค่ำ</td> </tr> </tbody></table>
    ดิถีเรียงหมอน
    ดิถีเรียงหมอน หรือดิถีแมลงปอ นี้ ใช้ในการแต่งงานถือฤกษ์แต่งงาน ข้างขึ้น โดยส่วนมากจะใช้ 7, 10, 13 ค่ำ และถ้าเป็นข้างแรมใช้ 4 ,5, 10, 14 ค่ำ วันที่กำหนดไว้นี้ นับว่าเป็นวันเรียงหมอนได้ ดังนั้นการให้ฤกษ์แต่งงาน ควรหาฤกษ์ให้ตรงกับวันเรียงหมอนจึงจะดี

    วันดับวันศูนย์ (ไม่มีแสดงในปฏิทิน) เป็นวันที่ถือกันมาก ห้ามประกอบการมงคลใดๆ ทั้งสิ้น ถ้าประกอบการมงคลในวันดับศูนย์ การประกอบงานนั้นมักต้องประสบอันตราย

    1. วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ
    2. วัน อวมานโอน ตามปฏิทินโหราศาสตร์
    3. วันที่สุริยุปราคา หลีกเลี่ยงประกอบการมงคล ก่อนและหลังเกิดคราส 7 วัน ถือว่าแรงของคราสจะลบล้างความดีต่างๆลงหมด และดาวอาทิตย์กับดาวจันทร์ก็หมดกำลังลงด้วย
    4. วันที่มีพระอาทิตย์เป็น 2 ราศี ได้แก่ วันสงกรานต์ วันเนา วันที่พระอาทิตย์ย้ายเปลี่ยนราศี ตลอดจนกระทั่งดาวอื่นๆเปลี่ยนย้ายราศี ดังนั้นวันดับศูนย์จึงห้ามประกอบการใดๆทั้งสิ้น

    วันคู่ศัตรู (ไม่มีแสดงในปฏิทิน) โบราณให้หลีกเลี่ยงวันที่เป็นคู่ศัตรูกับ วันเกิดของเจ้างานการมงคลนั้น
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td colspan="2">วันอาทิตย์</td> <td>เป็นคู่ศัตรกับุ</td> <td width="20"> </td> <td>วันอังคาร </td> </tr> <tr> <td colspan="2">วันศุกร์</td> <td colspan="2">เป็นคู่ศัตรกับ ุ</td> <td>วันเสาร์ </td> </tr> <tr> <td>วันพุธ (กลางวัน) </td> <td width="20"> </td> <td colspan="2">เป็นคู่ศัตรกับ ุ</td> <td>วันราหู (พุธกลางคืน) </td> </tr> <tr> <td colspan="2">วันจันทร์</td> <td colspan="2">เป็นคู่ศัตรกับ ุ</td> <td>วันพฤหัสบดี</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="25">กาลโยค</td> </tr> <tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td rowspan="4" valign="top" width="130">วาร (วัน) กาลโยค</td> <td colspan="2">วันธงชัย
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>พฤหัสบดี (๕)</td> </tr> <tr> <td colspan="2">วันอธิบดี
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>อาทิตย์ (๑)</td> </tr> <tr> <td colspan="2">วันอุบาทว์
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>พุธ (๔)</td> </tr> <tr> <td>วันโลกาวินาศ </td> <td> </td> <td>:</td> <td> </td> <td>อังคาร (๓)</td> </tr> </tbody></table></td> <td> </td> <td bgcolor="#cccccc" width="1"></td> <td> </td> <td valign="top"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td rowspan="4" valign="top">ยาม (เวลา) กาลโยค</td> <td rowspan="4" valign="top"> </td> <td colspan="2">ยามธงชัย
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>06:00-07:30 , 18:00-19:30 (๑)</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ยามอธิบดี
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>09:00-10:30 , 21:00-22:30 (๓)</td> </tr> <tr> <td colspan="2">ยามอุบาทว์
    </td> <td>:</td> <td> </td> <td>16:30-18:00 , 04:30-06:00 (๘)</td> </tr> <tr> <td>ยามโลกาวินาศ</td> <td> </td> <td>:</td> <td> </td> <td>15:00-16:30 , 03:30-04:30 (๗)</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="130">ธง ชัย</td> <td> วันที่สำเร็จในผลดี หรือความดีทั้งหลาย ชัยชนะ มิ่งขวัญ ของหมู่คณะ
    เวลา ประกอบด้วยโชค ชัยชนะ หมายถึงชัยโชค (ใช้กับสิ่งของ วัตถุ สถานที่)</td> </tr> <tr> <td valign="top">อธิบดี</td> <td> วันที่เป็นใหญ่ มีอำนาจในการปกครอง ควบคุมดูแล
    เวลา ประกอบด้วยโชค ความเป็นใหญ่ ใช้กับบุคคล</td> </tr> <tr> <td valign="top">อุบาทว์</td> <td> วันที่ตกอยู่ในบ่วงกรรมอุปสรรค ทำการค้าไม่ขึ้น โชคร้าย
    เวลา ประกอบด้วยอุบัติเหตุ เคราะห์ไม่ดี สิ่งที่ไม่เป็นมงคล (ใช้กับบุคคล)</td> </tr> <tr> <td valign="top">โลกาวินาศ</td> <td> วันที่วุ่นวาย ยุ่งยาก ระส่ำระสาย ความหายนะ สูญเสีย
    เวลา เข้าไปสู่อันตราย ไม่เป็นมงคลต่อชุมชน หมู่คณะเป็นส่วนรวม (ใช้กับสิ่งของ วัตถุ สถานที่)</td> </tr> </tbody></table>
    ปฏิทินนี้แสดงเฉพาะ วาร (วัน) กาลโยค เท่านั้น นอกจากนี้กาลโยคยังมีฐานอื่นๆ นอกจากฐานวัน ฐานยาม คือ ฐานฤกษ์ , ฐานราศี , ฐานดิถี

    กาลโยค คำนวณโดยใช้ปีจุลศักราชตั้งต้น ซึ่งปีจุลศักราชใหม่คำนวณวันเถลิงศกตามคัมภีร์สุริยาตร์ และวันเดียวกันอาจมี 2 จุลศักราชก็เป็นได้เพราะมีช่วงเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง กาลโยค ด้านบนเพื่อให้ง่ายในการคำนวณ จึงให้วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเปลี่ยนปีจุลศักราชใหม่หรือวันเถลิงศก ดังนั้นช่วงวันที่ 15-17 เมษายน กาลโยคอาจคลาดเคลื่อน แต่อย่างไรก็ตามถ้าจำเป็นต้องใช้ปีจุลศักราช คำนวณอย่างละเอียด ก็ได้คำนวณวันเถลิงศกตามคัมภีร์สุริยาตร์ไว้แล้ว ท่านสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ปฏิทินปี พ.ศ. 2556

    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="25">วัน ลอย วันจม วันฟู </td> </tr> <tr> <td>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="130" height="20">วัน ลอย</td> <td>เป็นวันเหมาะแก่ การเริ่มต้นกิจการงาน และการมงคล</td> </tr> <tr> <td height="20">วันฟู</td> <td>เป็นวันเหมาะแก่ วันที่ทำกิจการ การงาน การทำมาหากินและการอาชีพต่างๆ ของคนไทยในอดีต ซึ่งรวมถึงการทำการมงคลในเรื่องที่เกี่ยวด้วย</td> </tr> <tr> <td height="20">วันจม</td> <td> เป็นวันห้ามทำการมงคล ริ่เริ่มใหม่ ให้ทำแต่กิจการที่ทำอยู่หรือทำในเรื่องเล็กน้อย เพราะมักจะมีอุปสรรค เหตุขัดข้องเกิดขึ้น </td> </tr> </tbody></table>
    การคำนวณหาวันลอย วันจม วันฟู จะใช้เดือนไทยซึ่งเปลี่ยนเดือนตามจันทรคติ (เดือนอ้าย เดือนยี่ ฯ) เป็นหลักในการตั้งต้น

    </td> </tr> </tbody></table></td> <td style="border-right: 1px solid rgb(193, 198, 204);">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td valign="bottom" width="6">[​IMG]</td> <td style="border-bottom: 1px solid rgb(193, 198, 204);">[​IMG]</td> <td valign="bottom" width="6">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table>
     
  15. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    สังเกตุว่า สหรัฐทดลองอาวุธนิวเคลียร์ได้สำเร็จ ไม่ถึง 1 เดือน ก็นำมาใช้เลย

    16 กค 2488 1945 สหรัฐทดลองนิวเคลียร์ Fatman
    6 สค 2488 1945 สหรัฐทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ ฮิโรชิม่า

    เวลาผ่านไป 65 ปี คุณคิดว่า เทคโนโลยีอาวุธของสหรัฐจะก้าวกระโดดไปถึงขั้นไหน

    หากสหรัฐค้นพบอนุภาคพระเจ้าจริง
    และเกิดชนวนสงครามนิวเคลียร์ขึ้น อาวุธใหม่ที่ค้นพบได้สำเร็จนี้ จะถูกนำมาใช้แบบสดๆร้อนๆ เช่นเดียวกันกับเหตุการณ์ 65ปีก่อน

    บั้ยบาย ชาวโลกกิเลสหนาทั้งหลาย จะเหลือถึง 10%ไหมหนอ?
     
  16. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    ความเพียรอันบริสุทธิ์ = ทำความดีเพื่อความดี

    [​IMG]

    เพียงแค่ให้ความดียังมีลมหายใจอยู่ในเมืองไทยก็พอ
     
  17. Heureuse

    Heureuse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2008
    โพสต์:
    857
    ค่าพลัง:
    +3,446
    ขอบคุณคุณหนุมาน เพราะได้อ่านประโยคนี้ สติเราเลยกลับมา เราก็จะทำการเเปลกระทู้นี้เเละช่วยให้ถึงที่สุดเหมือนกัน
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ขออนุญาต ออกนอกเรื่อง แซวคุณหนุมานให้หายงอลลลล ฮ่าๆๆๆๆๆๆ

    หนุมานยีนส์ แบรนด์ไทยไปนอก

    [​IMG]

    [​IMG]

    หลายยุคหลายสมัย “หนุมาน” เป็นฮีโร่ในวรรณคดีไทยสุดป๊อปตัวหนึ่งที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวแทนของ “วัฒนธรรมร่วมสมัย” อยู่เนืองๆ ไม่ว่าจะเป็น การสร้างภาพยนตร์ไทย เรื่อง หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ นาฬิกา G-Shock Limited Edition รุ่น Mr.Windson (หนุมาน) ซึ่งออกแบบโดยเซเลบฯดัง อย่าง “นัท สารสาส” หรือกระทั่งกลายเป็นแบรนด์แฟชั่นแนวๆ ของ “ยีนส์ดีไซน์สำหรับผู้ชาย”

    "ยีนส์หนุมานนี่ผมชอบของผมเอง มันเท่มากๆ" คำให้สัมภาษณ์ครั้งหนึ่งของ “คุณชายอดัม-ม.ร.ว.ชาตรีเฉลิม ยุคล” ที่กล่าวถึงแบรนด์ในดวงใจ เขามักปรากฏกายในฟอร์แมต “เสื้อยืด+ยีนส์ (หนุมาน)” อยู่เสมอ

    “วีร์ บัณฑิตวงศ์ไพศาล” เจ้าของหนุมานยีนส์ ยอมรับว่า ช่วงที่ผ่านมาตลาดยีนส์ถือว่าซบเซาตามวัฏจักรของยีนส์ที่รุ่ง-ร่วง ทุก 5-7 ปี โชคดีที่ธุรกิจหนุมานยีนส์มีสายป่านที่ยาว จากแบรนด์ “Gazoz” ธุรกิจยีนส์ของครอบครัวที่ฐานรากมั่นคงในตลาดเมืองนอกมายาวนาน “เมื่อก่อนส่งออกวันละสิบล้าน ขายดีจนผลิตไม่ทัน ผลิตได้เท่าไหร่ก็ไม่พอ แบบใหม่มี 5 แบบต่ออาทิตย์ ผลิตแบบละ 3,000 ตัว แต่ 2 ปีนี้ลดเหลือ 7-8 แบบต่อเดือน ผลิตแค่แบบละ 500 ตัว ที่อยู่ได้ในตอนนี้ ต้องเป็นโรงงานใหญ่จริงๆ”

    ความไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาสินค้าช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว ทำให้หนุมานยีนส์เริ่มเป็นที่รู้จักในฐานะยีนส์ทางเลือกใหม่ของวัยรุ่น "กางเกงยีนส์หนุมานรุ่นพิเศษ จัดทำขึ้น 999 ตัว ทั่วโลก ทำพิธีปลุกเสกที่หัวใจเรา ก่อนสวมใส่ควรท่องคาถา 3 จบ คิดดี-พูดดี-ทำดี ยีนส์รุ่นนี้ใส่แล้วดูดี ดูสมาร์ท ดึงดูดเพศตรงข้าม ใส่ทำงาน จะเจริญรุ่งเรือง" Tag ที่ติดมากับ "กางเกง(ยีนส์) ลิง" รุ่น “ลงยันต์” เป็นลูกเล่นซุกซนล่าสุดที่เขาครีเอตขึ้นมา

    ยีนส์หนุมานโดดเด่นออกมาจากกว่าพันแบรนด์ในตลาด ด้วยการดึงเอาเอกลักษณ์ของความเป็นไทยต่างๆ มาผสมผสานบนผืนผ้า เช่น หมุด กระดุมที่สลักเป็นรูปหนุมาน เรียกสายตาด้วยลวดลายแบบไทยๆ เช่น ลายกนก ลายยันต์ รวมถึงการออกแบบ “ป้ายแบรนด์” ใหม่เพื่อให้เข้ากับกางเกงยีนส์แต่ละรุ่นอยู่เสมอ เช่น ยีนส์สไตล์วินเทจ ป้ายก็ต้องลุควินเทจ แต่ละคอลเลกชั่นของหนุมานจึงสร้างความตื่นเต้นให้ผู้ที่สะสมอยู่ไม่น้อย

    เมื่อจบการศึกษาระดับปริญญาโทที่สหรัฐฯ วีร์เริ่มหารายได้พิเศษจากการฝากขายกางเกงยีนส์ผ้ายืดสำหรับผู้หญิงซึ่งเป็น ธุรกิจหลักของครอบครัว "ยีนส์ Gazoz ของเราได้เปรียบด้านราคาที่ต่ำกว่าในคุณภาพที่ชาวต่างชาติให้การยอมรับ” หลังจากนั้นเขาจึงเริ่มทำ Made-to-order ให้กับยีนส์แบรนด์ ARMY และแฟรนไซส์ BB เสื้อผ้าดังในอเมริกา

    “ผมก็เลยเริ่มมั่นใจในสินค้าของบ้านเรา เมื่อก่อนลูกทุ่งอ่ะนะ พี่น้องทำกันเอง แบบยีนส์ที่เราได้ทุกวันนี้ก็เรียนรู้จากต่างชาติ เพราะสิบปีก่อนโน้น แฟชั่นมันมาจากยุโรปก่อนลามไปนิวยอร์ก กว่าจะถึงบ้านเราก็ต้องใช้เวลาสามถึงหกเดือน” ทำอยู่สองปีจึงพบจุดเปลี่ยนเมื่อโควต้าสินค้าสิ่งทอจากเมืองไทยถูกระงับการ นำเข้าจากรัฐบาลสหรัฐฯ ด้วยเหตุที่อ้างว่าพบผู้ประกอบการไทยนำสินค้าจีนมาตีตราเมดอินไทยแลนด์

    สิบปีที่แล้วในอเมริกา ดีเซล (Diesel) เป็นแบรนด์เดียวที่ทำตลาด “ยีนส์แฟชั่น” สำหรับ “ผู้ชาย” จนฮิตติดตลาดในระยะเวลาอันรวดเร็ว ยีนส์ดีเซลปฏิวัติวงการยีนส์ชายด้วยการฟอกสี สร้างดีไซน์เก๋ๆ ขึ้นมา วีร์เองก็เห็นแนวโน้มการตลาดว่า อนาคตผู้ชายจะช้อปปิ้งมากขึ้น แต่งตัวมากขึ้น จึงโทรศัพท์มาบอกทางบ้านว่าจะกลับเมืองไทยเพื่อเป็นผู้ผลิตยีนส์ดีไซน์ สำหรับผู้ชายอย่างเต็มตัว แล้วก็เป็นจริง เมื่อสินค้าในตลาดช่วงหลายปีหลัง มีผลิตภัณฑ์ประเภท “For Men” ออกมาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อีกทั้งดีเซลยังติดอันดับแบรนด์ยีนส์ที่ผู้บริโภคไทยอยากเป็นเจ้าของมากที่ สุด ทั้งที่ตลาดบ้านเราสมัยนั้น ชายส่วนใหญ่รู้จักเพียงยีนส์เบสิกอย่าง “แมคยีนส์” และ “ลีวายส์”

    “หนึ่ง ผมอยากทำแบรนด์ยีนส์ผู้ชาย สอง ผมอยากแตกแบรนด์ใหม่เพื่อที่จะลองตลาด สาม ผมอยากทำตลาดเมืองไทย อยากเปลี่ยนทัศนคติคนไทย ว่าของไทยนี่แหละดีจริง” ความมุ่งมั่นของวีร์มาลงตัวที่แบรนด์ “Hanuman Jeans” ซึ่งจดลิขสิทธิ์เป็นที่เรียบร้อย “ผมอยากได้ชื่อแบรนด์ไทยๆ เพราะไปอยู่เมืองนอกแล้วมันภาคภูมิใจในสินค้าของเรา อย่างเสื้อกอล์ฟยี่ห้อคาราเว ที่อเมริกาขายห้าหกพันบาท ของเขาดีจริงๆ ไง หรือรองเท้าไทยยี่ห้อนึงคุณภาพดีมากๆ ขายในห้างไทยคู่ละพัน ขายที่อเมริกาคู่ละหมื่น ผมใส่ทำงานเสิร์ฟทั้งวัน ไม่เมื่อยเลย ด็อกเตอร์มาร์ตินจากอังกฤษยังสู้ไม่ได้”

    กลยุทธ์ในตำราพิชัยสงครามของหนุมานยีนส์ก็คือ ส่งทัพหนุมานออกไปบุกตลาดเมืองนอก จนเป็นที่ยอมรับและกล่าวขานถึง กระทั่งรอเวลาให้ชื่อเสียงสะท้อนกลับมาเข้าหูผู้บริโภคชาวไทย “เปลี่ยนทัศนคติคนไทยให้เชื่อว่าของเราดีกว่าน่ะยาก” วีร์กล่าว เขาจึงเรียนรู้วิธีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนไทยโดยเทียบกับตัวเอง

    ช่วงแรกที่นำเสนอตัวเองสู่ตลาด (โลก) วีร์ใช้วิชาหนุมานประสายกาย พ่วงขายความน่าเชื่อถือไปพร้อมๆ กับแบรนด์ Gazoz ที่ติดตลาดมาเป็นเวลากว่าสิบปี แรกๆ จึงจำเป็นใช้ชื่อแบรนด์ว่า “Hanuman by Gazoz” กระทั่งตอนหลัง ก็สามารถแยกแบรนด์ออกมาเป็น Hanuman Jeans ได้อย่างภาคภูมิ

    ราคาขายส่งที่ตั้งไว้บวกกำไรเพียง 10-15 เปอร์เซ็นต์ หากเป็นราคาปลีกหน้าร้านจะอยู่ที่ 690-950 บาท เพื่อเจาะกลุ่มวัยรุ่น คนรุ่นใหม่ที่รักแฟชั่นโดยเฉพาะ ล่าสุด หนุมานเริ่มผลิตยีนส์สำหรับผู้หญิงออกมาวางจำหน่ายเพื่อเติมเต็มช่องว่างของ แบรนด์อีกด้วย

    ปัจจุบันหนุมานยีนส์ยังคงอยู่ในขั้นเก็บชื่อเสียงอยู่ในตลาดต่างประเทศ เพราะส่งออกถึง 80-90% ครึ่งหนึ่งเป็นตลาดยุโรป มีตัวแทนจำหน่ายเช่น ในฟินแลนด์ แคนาดา ขณะที่อีกครึ่งบุกตลาดแอฟริกา

    “เคยมีลูกค้า แอฟริกันเข้ามาดูยีนส์ในร้าน เขาก็ชมว่าของเราสวยดี แต่เขาไม่ซื้อแล้วล่ะ เพราะเขามีกางเกงยีนส์ดีๆ แพงๆ อยู่แล้ว ว่าแล้วก็ชี้ให้ดู ผมถึงกับหัวเราะ ว่าเอ๊านี่ยีนส์ของร้านเรานี่ เขาบอกที่นั่นขายตัวละแปดเก้าพันบาท” สำหรับคนไทย วีร์เห็นว่า ราคาของยีนส์หนุมานอาจแพงเกินไปในสภาพตลาดที่มีตัวเลือกเยอะ

    ในอดีต เสื้อผ้าฮ่องกงขึ้นชื่อเรื่องคุณภาพ เสื้อผ้าไทยราคาถูกกว่าในคุณภาพที่ใกล้เคียง กระทั่งวันเวลาเปลี่ยนไป ไทยผลิตสิ่งทอเกรดเอ ในขณะที่ประเทศจีนเริ่มตั้งตัวได้ และเริ่มจะผลิตสินค้าเกรดบี “ผมเชื่อว่าอีกสิบปีของจีนจะแพงเท่าของเรา กะไว้เลยว่าวันนึงจะต้องเอายีนส์ไปขายเมืองจีน เพราะตลาดใหญ่ คนเยอะ แต่ตอนนี้ยังเข้าไปไม่ได้ ราคาเรายังสูงอยู่”
    วีร์วางแผนว่าปลายปีนี้ หากการเมืองนิ่ง ก็น่าจะเริ่มลงทุนอะไรใหม่ๆ ให้กับแบรนด์ ภายใน 1-2 ปี เขาตั้งใจจะเปิดช็อปของหนุมานยีนส์ในห้างสรรพสินค้า แล้วต่อยอดสู่ไอเท็มอื่นๆเช่น เสื้อยืด หมวก “ผมไม่เคยเจอคุณอดัมเป็นการส่วนตัว แต่ดีใจที่เขาชอบงานของเรา ถ้าเป็นไปได้วันนึงผมอยากเชิญมางานเปิดร้าน”

    ดูท่า ยีนส์เป็นวัฒนธรรมการแต่งกายที่เป็น “อมตะ” เฉกเช่นหนุมานที่มีมากด้วยอิทธิฤทธิ์และ “ไม่มีวันตาย”
    แม้จะมีวิธีการ ทำตลาดต่างกัน แต่โลคอลแบรนด์ทั้งสองต่างถือกำเนิดจากความเป็น “พื้นบ้าน” หรือ “รากฐานของความเป็นไทย” ใส่ไอเดียให้แหวกและแตกต่าง หาใช่เพียงเฉพาะวัตถุดิบ หรือแรงงาน หากแต่รวมถึงวิธีคิดที่มีจุดกำเนิดจากความ “ภาคภูมิใจ” ใน “ต้นทุนทางปัญญา” ของคนไทยด้วยกันเอง


    ทำไมต้องหนุมาน
    1.ชื่อแบรนด์ บ่งบอกถึงความเป็นไทยชัดเจน ให้ความรู้สึกแหวกและแตกต่างไปจากแบรนด์ยีนส์ทั่วไป ที่มักใช้ชื่อภาษาอังกฤษเป็นหลัก

    2.การใส่รายละเอียดในงานดีไซน์ เช่น กระดุมที่สลักเป็นรูปหนุมาน เรียกสายตาด้วยลวดลายแบบไทยๆ เช่น ลายกนก ลายยันต์ รวมถึงการออกแบบ “ป้ายแบรนด์” ใหม่เพื่อให้เข้ากับกางเกงยีนส์แต่ละรุ่นอยู่เสมอ

    3.ตอบโจทย์พฤติกรรมของผู้บริโภคยุคนี้ ต้องการแสดงออกถึงความเป็นตัวตน มีไม่น้อยที่ปฏิเสธความเป็นแบรนด์เนม เพราะไม่ต้องการซ้ำ หรือเลียนแบบใคร



    Read more: http://www.positioningmag.com/Magazine/Details.aspx?id=88476&utm_source=feedburner&utm_medium=feed&utm_campaign=Feed%3A+PositioningMagazine+%28Positioning+Magazine%29#ixzz0w7QqwXn3
    Under Creative Commons License: Attribution Non-Commercial No Derivatives
     
  19. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    หนุมานเป็นเทพเจ้าองค์หนึ่งของอินเดีย
    เรียกได้ว่า อะไรเราก็ไหว้ อะไรเราก็บอกว่าดี
    อะไรเราก็รับเข้ามา จะแขก จีน เขมร พม่า มอญ ฝรั่งเราก็รับมาเป็นของเราหมด

    หลอมรวมวิวัฒน์มาเป็นของเราก็ดี (รากใหม่)
    แต่..รับวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาจนทิ้งของเก่าไม่ถนอมไว้ (รากเก่า) นี่นะซิ

    อนุรักษ์และพัฒนาไม่สมดุลกันจึงเกิดปัญหา

    พุทธเข้ามาในสยาม ก็สร้างพระพุทธรูปเพื่อเอาชนะเทวนิยม
    พอนานๆไป พระเครื่องก็กลายเป็นของขลังแบบเทพเจ้า
    กลืนกันไป กลืนกันมา จนหลังๆนี้พุทธจะกลายเป็นพราหมณ์
    เป็นศาสนาแห่งการอ้อนวอนขอ พึ่งพาสิ่งศักดิ์สิทธ์ของขลังซะแล้ว

    เอาแต่แจกพระธาตุอย่างเดียวไม่รอดหรอกนะ
    จึงไม่เน้นให้พึ่งพาสิ่งศักศิทธิ์แบบของบูชาส่วนตัว ต้องมีทั้งเสบียงบุญ เสบียงกายภาพ เสบียงองค์ความรู้

    ถ้าจะพึ่งพระธาตุ ต้องไปถึงขั้นชุมชนเข้มแข็ง มีเจดีย์พระธาตุเป็นศูนย์รวมใจ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2010
  20. ธัมมะอาสา

    ธัมมะอาสา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    417
    ค่าพลัง:
    +2,648
    น่าสงสารเมืองนี้นะ
    ดูท่าทางแล้วจะจมน้ำเป็นเหยื่อเต่าเหยื่อปลากันหมด

    [​IMG]

    อยากทำอะไรมากกว่า การวิเคราะห์ ยืนดูต้นมะม่วงล้ม
    ไปสู่ขั้นแก้ปัญหา ก็เชิญที่เว็บนี้ครับ

    [​IMG]
    กติกา | ไอเดียประเทศไทย

    แต่ระวัง หากวิเคราะห์ไม่ขาด
    ปัญหาเก่าก็แก้ไม่ได้ แถมยังสร้างปัญหาใหม่อีก
    เป็นพวกยิ่งแก้ยิ่งพันเราก็จะถูกวาทะกรรม"ปฎิรูปประเทศไทย"
    ครอบจนกลายเป็นผู้ล้มต้นมะม่วงแทนการฟื้นฟู!!

    ทางที่ดี ในเวลาช่วงนี้ ต้องช่วยกันคิดหาทางเตรียมเสบียง
    เพราะปัญหานั้นใหญ่กว่าแค่ต้นมะม่วงล้ม

    ในเมืองไทยยังจิ๊บๆ เมื่อเทียบกับวิกฤติของโลก

    ต้องเตรียมเสบียงมากพอ กำหนดทิศที่ถูก
    จึงจะทั้งสามารถฟื้นฟูต้นมะม่วงได้อันเป็นเหตุให้มีกำลังฝ่าภัยพิบัติไปได้เช่นกัน

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...