Album: พุทธมามกะ

พุทธมามกะ<br /> อันบุคคลผู้ซึ่งน้อมนำเอาคำสอนของพระศาสดา และยอมรับในการปฏิบัติในหลักธรรมของพระพุทธองค์ หรือการประกาศตนว่าเป็นบุคคลผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ย่อมเป็นพุทธมามกะโดยสันดานแล้ว เราควรปฏิบัติตนอย่างไรให้เหมาะกับการนับถือศาสนาของพระพุทธองค์มาเป็นศาสนาประจำตนเอง<br /> พระพุทธองค์ตรัสรู้ อริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค พุทธมามกะ ขึ้นชื่อว่าน้อมนำคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นหลักการปฏิบัติแล้ว ควรจะเข้าใจเป็นสิ่งแรก นี่คือจุดมุ่งหมายขององค์พระศาสดา การหลุดพ้นจากทุกข์โดยถาวร หรือการไม่กลับมาสู่วงแห่งวัฏสงสาร <br /> ทุกข์ การเกิด แก่ เจ็บและตายเหล่านี้ล้นเป็นทุกข์ ซึ่งมักจะมีอวิชาเป็นตัวกำหนด อวิชาคือความไม่รู้ ความไม่รู้นี่แหละก่อให้เกิดทุกข์ ได้แก่การไม่สุขทั้งด้วยกาย ใจ และมีใจเป็นนาย<br /> สมุทัย เหตุการเกิดทุกข์ ด้วยมีกิเลสเป็นตัวนำ รัก โลภ โกรธ หลง ว่าอันนี้คือเรา ตัวเรา ของเรา ยึดให้มั่น ถือไว้ให้จงมั่น อยากเป็น อยากได้ อยากสบาย อยากมีทรัพย์ แสวงหาทุกวิธี เมื่อไม่ได้ก็เป็นความไม่สุข เมื่อได้ก็ยิ่งต้องการอีก ไม่อิ่ม ไม่พอ ก็ดิ้นรนยิ่งขึ้นอีกไม่จบสิ้น<br /> นิโรธ การดับทุกข์ ละแล้ววางแล้ว รู้แล้ว ไม่มากนัก ทางสายกลาง พอควรแก่การดำรงตน ไม่แสวงหา ละความอยากละความโกรธ ไม่ยึดมั่นถือมั่น เผื่อแผ่ ให้ บริจาค<br /> มรรค หนทางการดับทุกข์ การปฏิบัติเพื่อให้หลุดพ้นจากสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ เริ่มต้นที่ ทานการให้ ศีล สมาธิ ปัญญา เจริญภาวนาจิตให้ผ่องใส มีวิชาเป็นตัวกำหนด มีความ อดทน เป็นตัวตั้ง มีความ เพียร เป็นกำลัง ที่จะนำไปสู่ความรู้แจ้ง เข้าใจและถูกทาง<br /> พุทธมามกะ ปฏิบัติตนอย่างไร ยากไหม ยังมีกิเลสไหม เป็นปุถุชนไหม อารมณ์ ความรู้สึกยังเป็นธรรมดา คงไม่ยากหากเรามีความศรัทธาที่ถูกต้องและเข้าใจ<br /> เริ่มอย่างไร ทานคือการให้ แล้วให้ด้วยเมตตา ให้ที่บริสุทธิ์ ละวางซึ่งการต้องการสิ่งที่ตอบแทน เพียรฝึกครั้งละน้อย ไม่เสียดาย ไม่รู้สึกมาก ไม่ลำบาก ไม่ยากเข็ญแก่ตนเอง ไม่มีทรัพย์ ไม่มีสมบัติ ก็ให้ใจ ยินดีที่เขาทำ ยินดีที่เขาได้ ยินดีที่เขาสุข ให้กำลัง ช่วยทำ ช่วยบอก ช่วยอำนวยความสะดวก ช่วยแนะนำ เหล่านี้ปฏิบัติให้บ่อยขึ้นตามกำลังไม่มากเกินพอดีของตน ไม่ตระหนี่จนเกินไป ไม่หวังสิ่งใดใดตอบแทน แล้วก็ศีลทั้งห้า ศีลไม่ใช่ข้อห้ามโดยตรง เพราะมิอาจมีใครห้ามใครได้จริงแท้ ห้ามกายได้ก็มิอาจห้ามใจใคร แต่เป็นข้อที่ควรซึ

พุทธมามกะ

อัปเดต 11 ธันวาคม 2010
There is no photo in this album yet.
นฤมิต๑
พุทธมามกะ
อันบุคคลผู้ซึ่งน้อมนำเอาคำสอนของพระศาสดา และยอมรับในการปฏิบัติในหลักธรรมของพระพุทธองค์ หรือการประกาศตนว่าเป็นบุคคลผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ย่อมเป็นพุทธมามกะโดยสันดานแล้ว เราควรปฏิบัติตนอย่างไรให้เหมาะกับการนับถือศาสนาของพระพุทธองค์มาเป็นศาสนาประจำตนเอง
พระพุทธองค์ตรัสรู้ อริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค พุทธมามกะ ขึ้นชื่อว่าน้อมนำคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นหลักการปฏิบัติแล้ว ควรจะเข้าใจเป็นสิ่งแรก นี่คือจุดมุ่งหมายขององค์พระศาสดา การหลุดพ้นจากทุกข์โดยถาวร หรือการไม่กลับมาสู่วงแห่งวัฏสงสาร
ทุกข์ การเกิด แก่ เจ็บและตายเหล่านี้ล้นเป็นทุกข์ ซึ่งมักจะมีอวิชาเป็นตัวกำหนด อวิชาคือความไม่รู้ ความไม่รู้นี่แหละก่อให้เกิดทุกข์ ได้แก่การไม่สุขทั้งด้วยกาย ใจ และมีใจเป็นนาย
สมุทัย เหตุการเกิดทุกข์ ด้วยมีกิเลสเป็นตัวนำ รัก โลภ โกรธ หลง ว่าอันนี้คือเรา ตัวเรา ของเรา ยึดให้มั่น ถือไว้ให้จงมั่น อยากเป็น อยากได้ อยากสบาย อยากมีทรัพย์ แสวงหาทุกวิธี เมื่อไม่ได้ก็เป็นความไม่สุข เมื่อได้ก็ยิ่งต้องการอีก ไม่อิ่ม ไม่พอ ก็ดิ้นรนยิ่งขึ้นอีกไม่จบสิ้น
นิโรธ การดับทุกข์ ละแล้ววางแล้ว รู้แล้ว ไม่มากนัก ทางสายกลาง พอควรแก่การดำรงตน ไม่แสวงหา ละความอยากละความโกรธ ไม่ยึดมั่นถือมั่น เผื่อแผ่ ให้ บริจาค
มรรค หนทางการดับทุกข์ การปฏิบัติเพื่อให้หลุดพ้นจากสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ เริ่มต้นที่ ทานการให้ ศีล สมาธิ ปัญญา เจริญภาวนาจิตให้ผ่องใส มีวิชาเป็นตัวกำหนด มีความ อดทน เป็นตัวตั้ง มีความ เพียร เป็นกำลัง ที่จะนำไปสู่ความรู้แจ้ง เข้าใจและถูกทาง
พุทธมามกะ ปฏิบัติตนอย่างไร ยากไหม ยังมีกิเลสไหม เป็นปุถุชนไหม อารมณ์ ความรู้สึกยังเป็นธรรมดา คงไม่ยากหากเรามีความศรัทธาที่ถูกต้องและเข้าใจ
เริ่มอย่างไร ทานคือการให้ แล้วให้ด้วยเมตตา ให้ที่บริสุทธิ์ ละวางซึ่งการต้องการสิ่งที่ตอบแทน เพียรฝึกครั้งละน้อย ไม่เสียดาย ไม่รู้สึกมาก ไม่ลำบาก ไม่ยากเข็ญแก่ตนเอง ไม่มีทรัพย์ ไม่มีสมบัติ ก็ให้ใจ ยินดีที่เขาทำ ยินดีที่เขาได้ ยินดีที่เขาสุข ให้กำลัง ช่วยทำ ช่วยบอก ช่วยอำนวยความสะดวก ช่วยแนะนำ เหล่านี้ปฏิบัติให้บ่อยขึ้นตามกำลังไม่มากเกินพอดีของตน ไม่ตระหนี่จนเกินไป ไม่หวังสิ่งใดใดตอบแทน แล้วก็ศีลทั้งห้า ศีลไม่ใช่ข้อห้ามโดยตรง เพราะมิอาจมีใครห้ามใครได้จริงแท้ ห้ามกายได้ก็มิอาจห้ามใจใคร แต่เป็นข้อที่ควรซึ

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...